ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ดรรชนีหักเห"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Thijs!bot (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 26:
ถ้าเรารู้ดรรชนีหักเหของวัสดุสองชนิดที่ความถี่หนึ่งๆ เราสามารถคำนวณมุมที่หักเหที่ผิวระหว่างตัวกลางสองชนิดนั้นได้ด้วย[[กฎของสเนล]] ([[:en:Snell's law|Snell's law]])
 
==การกระจายและการดูดกลืน==
==Dispersion และ Absorption==
 
ดรรชนีหักเหนั้นมีค่าขึ้นกับ[[ความถี่]] (ยกเว้นในสุญญากาศ ซึ่งทุกความถี่เดินทางด้วยความเร็วเท่ากันเท่ากับ <math>c</math>) ปรากฎการณ์นี้รู้จักกันในชื่อ[[dispersionการกระจาย]] ของแสง ซึ่งเป็นต้นเหตุให้[[ปริซึม]]แบ่งแสงขาวออกเป็น[[สี]]ต่างๆ และเป็นเหตุผลที่[[รุ้งกินน้ำ]]มีหลายสี ในช่วงคลื่นที่วัสดุไม่ดูดซับแสง ดรรชนีหักเหจะเพิ่มขึ้นตามความถี่ ในขณะที่ใกล้ความยาวคลื่นที่แสงถูกดูดซับได้ ดรรชนีหักเหจะลดลงเมื่อความถี่เพิ่มขึ้น
 
[[สมการของเซลไมเออร์]] ([[:en:Sellmeier equation|Sellmeier equation]]) ให้ผลค่อนข้างดีในการทำนายปรากฏการณ์ dispersionการกระจาย และในตารางค่าดรรชนีหักเหนั้นมักบอกเป็น[[สัมประสิทธิ์ Sellmeierเซลไมเออร์]] แทนที่จะเป็นค่าดรรชนีหักเหจริง
 
==Anisotropy==