ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การหมัก (ชีวเคมี)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Luckas-bot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.1) (โรบอต เพิ่ม: en:Fermentation (biochemistry)
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: jv:Fermèntasi; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
บรรทัด 1:
[[Imageไฟล์:Fermenting.jpg|thumb|right|สิ่งที่เกิดขึ้นระหว่างการหมัก]]
''สำหรับความหมายอื่นดูที่ [[การหมักดอง]]''
 
'''การหมัก''' (Fermentation; มาจาก[[ภาษาละติน]] Fervere หมายถึง "เดือด") เป็นกระบวนทางชีวเคมีภายในเซลล์ เพื่อสร้างพลังงานจากการย่อยสลายสารอินทรีย์ หรือการเปลี่ยนแปลงทางเคมีของสารประกอบอินทรีย์ด้วย[[เอนไซม์]] โดยมีสารอินทรีย์เป็นทั้งตัวให้และตัวรับอิเล็กตรอน <ref name="Prescott Microbiology">
{{cite book
| author = Klein, Donald W.; Lansing M.; Harley, John
บรรทัด 16:
== ประเภทของการหมัก ==
* แบ่งตามผลผลิต
** ผลผลิตเป็นตัวเซลล์ (Microbial cell) เช่น การผลิตยีสต์เพื่อใช์ในอุตสาหกรรม[[ขนมอบ]] (Bakers’ yeast) การผลิตเซลล์จุลินทรีย์เพื่อใช้เป็นอาหารมนุษย์และสัตว์ (Single cell protein, SCP)
** ผลผลิตเป็นเอนไซม์ (Microbial enzyme)ส่วนใหญ่ใช้ในอุตสาหกรรมอาหาร เช่น เอนไซม์[[อะไมเลส]] (Amylase) เอนไซม์[[ไลเปส]] (Lipase) เอนไซม์[[โปรตีเอส]] (Proteases) เป็นต้น
** ผลผลิตเป็นสารเมทาบอไลท์ (Microbial metabolite) อาจจะเป็นสารเมทาบอไลท์ปฐมภูมิ (Primary metabolite) เช่น เอธานอล บิวทานอล ไลชีน วิตามิน เป็นต้น จุลินทรีย์จะผลิตสารเหล่านี้ขึ้นในช่วง Log phase และสารเมทาบอไลท์ทุติยภูมิ (Secondary metabolite) ซึ่งเป็นผลผลิตจากกระบวนการเมตาบอลิซึมปฐมภูมิ ซึ่งพบในจุลินทรีย์บางชนิดในช่วง Stationary phase ของการเจริญ แต่มีความสำคัญเช่น ยับยั้งการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ชนิดอื่นได้ เป็นสารส่งเสริมการเจริญเติบโต (Growth promoter) หรือมีคุณสมบัติเป็นยารักษาโรค เป็นต้น
** เกิดการเปลี่ยนรูปของสารประกอบที่เติมลงไป (Transformation process) เป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของสารประกอบให้อยู่ในรูปที่คล้ายกัน แต่มีราคาสูงขึ้นเช่น กระบวนการผลิต[[น้ำส้มสายชู]] (การเปลี่ยนเอธานอลไปเป็น[[กรดอะซิติก]])การผลิตยาปฏิชีวนะ เป็นต้น
* แบ่งตามความต้องการอากาศหรือออกซิเจน
** Aerobic fermentation เป็นการหมักที่ต้องการอากาศ เช่น การหมัก[[กรดซิตริก]] และ[[กรดอะซิติก]] เป็นต้น
** Anaerobic fermentation เป็นการหมักที่ไม่ต้องการออกซิเจน เช่น การหมักอะซิโตนและบิวทานอล
* แบ่งตามสภาพการควบคุมการปนเปื้อนของเชื้อ
** Septic fermentation เป็นการหมักในสภาพเปิด ไม่จำเป็นต้องฆ่าเชื้อจุลินทรีย์
** Semi-septic fermentation เป็นการหมักในสภาพปิดเพื่อป้องกันการปนเปื้อนเชื้อจากภายนอก แต่ไม่จำเป็นต้องฆ่าเชื้อที่ปนเปื้อนมากับวัตถุดิบ
** Aseptic fermentation เป็นการหมักในสภาพปิดที่ปราศจากการปนเปื้อนเชื้อทั้งหมด
* แบ่งตามลักษณะหรือปริมาณน้ำในอาหารเลี้ยงเชื้อ
** การหมักบนอาหารแข็ง (Solid state fermentation)
** Submerge state fermentation เป็นการหมักที่ทำได้โดยการเพาะเลี้ยงจุลินทรีย์ในอาหารที่มีลักษณะเหลว
* แบ่งตามลักษณะของกระบวนการที่ใช้
** การหมักแบบไม่ต่อเนื่อง (Batch fermentation) ทำในระบบปิดที่มีสารอาหารเริ่มต้นปริมาณจำกัดเมื่อใส่จุลินทรีย์เพาะเลี้ยงลงไปในระบบแบบต่อเนื่องแล้วจะไม่มีการเติมสารใดๆ ลงไปอีก
** การหมักแบบต่อเนื่อง (Continuous fermentation) เป็นโดยมีการเติมอาหารใหม่และถ่ายอาหารเก่าออกจากระบบในอัตราเดียวกันตลอดเวลา
** Fed-batch fermentation เป็นการหมักที่มีการเติมสารอาหารบางอย่างเพิ่มลงไปในอาหารเลี้ยงเชื้อเป็นระยะๆ
 
== อ้างอิง ==
<references/>
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://www.pasteurbrewing.com/articles/works-of-louis-pasteur.html Works of Louis Pasteur] Pasteur Brewing.
* [http://www2.ufp.pt/~pedros/bq/respi.htm The chemical logic behind fermentation and respiration]
 
[[หมวดหมู่:ชีวเคมี]]
 
เส้น 68 ⟶ 69:
[[it:Fermentazione]]
[[ja:発酵]]
[[jv:Fermèntasi]]
[[ko:발효]]
[[lt:Fermentacija]]