ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปีเตอร์ ดรักเกอร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 38:
'''ปีเตอร์ ดรักเกอร์''' เป็นบุตรของทนายความซึ่งมีชื่อว่า ''อดอล์ฟ'' และมารดาชื่อ ''แคโรรีน'' ดรักเกอร์เกิดที่ [[กรุงเวียนนา]] [[ประเทศออสเตรีย]] ณ วันที่ 19 พฤศจิกายน ค.ศ. 1909 ดรักเกอร์ย้ายไปหางานทำที่ฮัมบูร์กแล้วเริ่มฝึกทำงานที่บริษัทค้าฝ้าย แล้วเป็นนักเขียนข่าวให้กับหนังสือพิมพ์ ''Der Österreichische Volkswirt (ออสเตรีย อิโคโนมิสต์)'' สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกด้าน[[กฎหมาย]]จากมหาวิทยาลัยแฟรงก์เฟิร์ต ผลงานของเขาสร้างความประทับใจต่อโจเซฟซึ่งเป็นเพื่อนของพ่อเขาเอง เกี่ยวกับเรื่องแนวคิดของผู้ประกอบการ<ref>Beatty, Jack, ''The World According to Peter Drucker'', p. 163, (1998)</ref> ดรักเกอร์ยังมีอิทธิพลต่อแนวคิดที่มีความแตกต่างไปจาก [[จอห์น เมย์นาร์ด เคนส์]] ผู้ซึ่งได้บรรยายที่[[เคมบริดจ์]] เมื่อ ค.ศ. 1934 ว่า "ผมเพิ่งเข้าใจว่านักเรียนเศรษฐศาสตร์ของเคนส์ล้วนปราดเปรื่องในห้องเรียนซึ่งสนใจเกี่ยวกับความนิยมด้านสินค้า" ในขณะที่ดรักเกอร์เขียนเอาไว้ว่า "ผมสนใจเกี่ยวกับพฤติกรรมของผู้คน"<ref>Drucker, Peter F., ''The Ecological Vision'', p. 75-76, (1993)abcdefghijklmnopqr</ref>
 
<!-- ถัดจากนั้นเป็นเวลากว่า 70 ปี ดรักเกอร์ได้เขียนถึงโฟกัสทางการตลาดบนความมีอยู่ของมนุษย์ ซึ่งมีวิกฤตการต่อต้านที่นับจำนวนได้ หนังสือของเขาได้ใส่บทเรียนเกี่ยวกับทำอย่างไรองค์กรถึงจะสามารถสร้างคนที่ดีที่สุดขึ้นมาได้ และคนงานจะสามารถตระหนักถึงสภาพชุมชนได้อย่างไร และจะเป็นที่ยอมรับในการจัดตั้งสังคมสมัยใหม่โดยรอบได้อย่างไร<ref>[http://www.druckerinstitute.com/drucker-legacy.html Drucker Institute - The Drucker Legacy<!-- Bot generated title -->]</ref> -->
 
ขณะที่เขายังหนุ่ม ก็ได้เขียนผลงานขึ้นมาสองชิ้น — โดยเล่มหนึ่งกล่าวถึงนักปรัชญาชาวเยอรมันซึ่งมีชื่อว่า ''เฟดเดอริช จูเลียส สตาห์ล'' กับเรื่อง ''"คำถามของชาวยิวในเยอรมัน" (The Jewish Question in Germany)'' — ซึ่งได้ถูกสั่งเผาและระงับการจัดพิมพ์โดยฝ่ายนาซี<ref name="bw2005"/> ปี ค.ศ. 1993 ได้เดินทางออกจากเยอรมันไปยังอังกฤษ ใน[[กรุงลอนดอน]] เขาได้ทำงานในบริษัทประกัน หลังจากนั้นเขาได้เป็นผู้นำนักเศรษฐศาสตร์คนสำคัญในธนาคารอย่างเป็นการส่วนตัว เขายังได้ติดต่อกับ ''ดอริส ชมิตซ์'' ผู้ซึ่งเป็นคนรู้จักจากมหาวิทยาลัยแฟรงก์เฟิร์ตอีกครั้ง ทั้งคู่ได้แต่งงานกันใน ค.ศ.1934 (ทั้งนี้ รายชื่อในใบรับรองระบุชื่อของเขาว่า ''ปีเตอร์ จอร์จ ดรักเกอร์'' <ref>The Drucker Institute Archives, Claremont, California. Box 39, Folder 11</ref>) และสองสามีภรรยาก็ได้ย้ายมาอยู่ที่สหรัฐอเมริกา โดยเขาได้มาเป็นศาสตราจารย์ในมหาวิทยาลัย รวมถึงเป็นนักเขียนฟรีแลนซ์ตลอดจนเป็นที่ปรึกษาทางธุรกิจ (ดรักเกอร์ไม่ยอมรับกับคำว่า "กูรู" ซึ่งคนทั่วไปยอมรับในตัวเขา โดยเขายังกล่าวย้ำอีกด้วยว่า "ผมพูดมาหลายปีแล้ว เราจะใช้คำว่า "กูรู" ก็คงเสมือนกับว่าเราเป็น "นักต้มตุ๋น" จนอาจต้องถูกพาดหัวข่าวที่ยาวมาก")<ref>“Peter Drucker, the man who changed the world,” ''Business Review Weekly'', 15 September 1997, p. 49</ref>
บรรทัด 44:
ในปี ค.ศ. 1943 ดรักเกอร์โอนสัญชาติเป็นพลเมืองของ[[อเมริกา]] เป็นผู้สอนที่[[วิทยาลัยเบนนิงตัน]] ช่วงปี ค.ศ. 1942 ถึง 1949 หลังจากนั้น เขาได้เป็นศาสตราจารย์ที่[[มหาวิทยาลัยนิวยอร์ก]] ช่วงปี ค.ศ. 1950 ถึง 1971 ดรักเกอร์เดินทางสู่แคลิฟอร์เนียในปี ค.ศ.1971 ซึ่งได้พัฒนา[[หลักสูตรเอ็มบีเอ]]ด้านการบริหาร สำหรับฝึกอาชีพที่ [[มหาวิทยาลัยแคลมอนต์ เกรดูเอท]] (หลังจากนั้นเป็นที่รู้จักกันในชื่อของ โรงเรียนแคลมอนต์ เกรดูเอท) ช่วงปี ค.ศ. 1971 จนถึงช่วงที่เขาเสียชีวิต เขาได้รับการแต่งตั้งเป็นศาสตราจารย์พิเศษด้าน[[สังคมศาสตร์]] กับ [[การจัดการ]] ที่[[มหาวิทยาลัยแคลมอนต์ เกรดูเอท]] และได้ตั้งชื่อมหาวิทยาลัยขึ้นมาว่า ''"ปีเตอร์ เอฟ. ดรักเกอร์ เกรดูเอทสคูล ออฟ เมเนจเมนท์"'' (หลังจากนั้นจึงเปลี่ยนมาเป็นชื่อในที่รู้จักกันว่า ''"[[ปีเตอร์ เอฟ. ดรักเกอร์ แอนด์ มาซาโตชิ อิโต้ เกรดูเอทสคูล ออฟ เมเนจเมนท์]]"'') เพื่อเป็นการให้เกียรติ เมื่อปี ค.ศ.1987 เขาสอนในชั้นเรียนครั้งสุดท้ายเมื่อปีค.ศ. 2002 ในขณะที่มีอายุได้ 92 ปี
 
<!-- == การทำงาน ==
งานเขียนของปีเตอร์ ดรักเกอร์มีเป็นจำนวนมาก บางส่วนได้รับรางวัล และยังมีบทความที่อธิบายถึงบริษัท ''เจนเนอรัล มอเตอร์ (GM)'' ซึ่งเป็นบริษัทที่ใหญ่ที่สุดของโลกในสมัยนั้น ได้สร้างความประทับใจต่อผู้บริหาร โดนัลด์สัน บราวด์ จึงเชิญให้เขาร่วมวิเคราะห์การบริหารจัดการขององค์กรในเวลาต่อมา ซึ่งอาจเรียกได้ว่าเกี่ยวกับ "การตรวจสอบบัญชีพรรค": การวิเคราะห์ทางสังคมศาสตร์สองปีของบริษัท ดรักเกอร์ได้เข้าร่วมเป็นคณะกรรมการกระประชุมทุกครั้ง, สัมภาษณ์ลูกจ้าง และวิเคราะห์ถึงการผลิตตลอดจนมีส่วนในการสินใจผลิตเชิงปฏิบัติ
 
บรรทัด 59:
ดรักเกอร์ได้ให้คำปรึกษาสำหรับตัวแทนรัฐบาลหลายแห่งทั้งจากสหรัฐอเมริกา, แคนาดา และญี่ปุ่น เขาได้ทำงานในองค์กรไม่แสวงหาผลกำไรและได้ช่วยให้องค์กรเหล่านั้นประสพผลสำเร็จ บ่อยครั้งที่ให้คำปรึกษาระดับอาชีพ ท่ามกลางหน่วยกลุ่มสังคม เขายังได้พิจารณาถึงองค์กรที่มีชื่อว่า ''Salvation Army'', ''the Girl Scouts of the USA'', ''C.A.R.E.'', ''กาชาดอเมริกัน'', และ ''Navajo Nation (ซึ่งเป็นคณะกรรมการของชนเผ่าอินเดียนแดง)'' ด้วยเช่นกัน<ref>Drucker, Peter F., ''Managing the Nonprofit Organization'' (1994)</ref>
 
โดยแท้จริงแล้ว ดรักเกอร์ ได้คาดการณ์ล่วงหน้าถึงการเติบโตของหน่วยสังคมในอเมริกา ซึ่งดำเนินต่อไป ด้วยการอาสาโดยไม่หวังผลกำไร ประชาชนต่างค้นหาถึงการบรรลุเป้าหมาย ซึ่งเขาเป็นต้นตำรับในการคิดโดยมีเงื่อนไขว่าต้องมีการวางตำแหน่งในงานของพวกเขา แต่นั่นก็เป็นการยากที่จะหาแหล่งทดสอบจากสนามแข่งจริง "ความเป็นพลเมือง และการคิดว่าหน่วยสังคมจะไม่สามารถรักษาความผิดปกติที่มีอยู่ได้ทุกอาการ ทั้งงที่มีอยู่ในเบื้องหลังของนายทุน กับเบื้องหลังของการปกครอง แต่บางทีสิ่งที่ต้องมาก่อนการแก้ปัญหากลับผิดปกติไปด้วย" ดรักเกอร์เขียนเอาไว้ "มันได้ช่วยฟื้นฟูหน้าที่ความรับผิดชอบที่มีอยู่ในตัวเมือง ซึ่งเป็นเครื่องหมายแห่งความเป็นพลเมือง กับความภาคภูมิใจที่เป็นเครื่องหมายแห่งสังคม"<ref>Drucker, Peter F., ''Post-Capitalist Society'', p. 177, (1993)</ref> -->
 
== งานเขียน ==