ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฮอร์โมนพืช"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Applezapotis (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Auxin.jpg|thumb|การไม่ได้รับสารฮอร์โมนอาจเป็นต้นเหตุให้การเจริญเติบโตของพืชเกิดความผิดปกติได้ (ต้นทางขวา)|150px|right]]
[[ไฟล์:Auxin.jpg|thumb|Lack of the plant hormone auxin can cause abnormal growth (right)|150px|right]]
'''ฮอร์โมนพืช''' (หรือ อาจเรียกว่า '''ไฟโตฮอร์โมน''') เป็นสารเคมีที่ควบคุมการเจริญเติบโตของพืช ฮอร์โมนพืชเป็น[[โมเลกุล]]ที่ใช้ส่งสัญญาณและถูกผลิตขึ้นในต้นพืชเองและถูกพบในปริมาณความเข้มข้นที่ต่ำมาก ฮอร์โมนจะควบคุมกระบวนการที่เกี่ยวกับ[[เซลล์]]ในเซลล์เป้าหมายเฉพาะที่ ฮอร์โมนยังช่วยกำหนดรูปทรงของพืช, การงอกของเมล็ด, การออกดอก, เวลาการออกดอก, เพศของดอก, การแตกกิ่ง, การแตกใบ, การสลัดใบ, การเจริญเติบโต และการสุกของผลอีกด้วย
ฮอร์โมนจะควบคุมกระบวนการที่เกี่ยวกับ[[เซลล์]]ในเซลล์เป้าหมายเฉพาะที่ ฮอร์โมนยังช่วยกำหนดรูปทรงของพืช การงอกของเมล็ด การออกดอก เวลาการออกดอก เพศของดอก การแตกกิ่ง การแตกใบ การสลัดใบ และการเจริญเติบโตและการสุกของผลด้วย
 
พืชจะต่างกับ[[สัตว์]]ตรงที่พืชไม่มีต่อมสำหรับหลั่งฮอร์โมน แต่เซลล์แต่ละเซลล์ของพืชจะมีความสามารถในการผลิตฮอร์โมนออกมาได้ ฮอร์โมนจะส่งผลกับกับลักษณะของพืชโดยทั่วไปเช่น การแตกกิ่ง, การอายุขัย, การสร้างใบ หรือแม้แต่การตายของพืชก็ตาม
ฮอร์โมนจะส่งผลกับการเติบโตของเนื้อเยื่อว่าเนื้อเยื่อไหนโตขึ้นข้างบน เนื้อเยื่อไหนโตลงข้างล่าง การสร้างใบ การเติบโตและแตกกิ่งก้านสาขา การพัฒนาของผล อายุขัยของพืช และแม้แต่การตายของพืช
 
== ลักษณะ ==
ฮอร์โมนพืชจะส่งผลกับ[[การแสดงออกของยีนส์]], ระดับของ[[การถอดรหัส (พันธุศาสตร์)|การถอดรหัส]], การแบ่งเซลล์ และการเจริญเติบโต โดยธรรมชาติแล้วพืชจะผลิตฮอร์โมนขึ้นมาเอง แต่สารเคมีที่มีลักษณะคล้ายๆที่ผลิตมาจาก[[เชื้อรา]]หรือ[[แบคทีเรีย]]ก็สามารถมีผลต่อการเจริญเติบโตของพืชได้<ref>Srivastava, L. M. 2002. ''Plant growth and development: hormones and environment''. Amsterdam: Academic Press. Page 140.</ref> นอกจากนี้ยังมีสารเคมีที่เกี่ยวข้องจำนวนมากที่สามารถูกสังเคราะห์ขึ้นมาได้และถูกใช้สำหรับการควบคุมการเจริญเติบโตของพืชที่เพาะปลูก, [[วัชพืช]], พืชที่ปลูกในหลอดทดลองหรือ[[จากเพาะเชื้อ]] และรวมถึงเซลล์พืช สารเคมีที่ถูกสังเคราะห์ขึ้นนี้จะถูกเรียกว่า ''[[สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช]]'' (Plant Growth Regulator; PGR)
ฮอร์โมนพืชจะมีผลกับ[[การแสดงออกของยีนส์]]และระดับของ[[การถอดรหัส (พันธุศาสตร์)|การถอดรหัส]] การแบ่งเซลล์ และการเจริญเติบโต
โดยธรรมชาติ พืชจะผลิตฮอร์โมนขึ้นมาเอง แต่สารเคมีที่มีลักษณะคล้ายๆที่ผลิตมาจาก[[เชื้อรา]]หรือ[[แบคทีเรีย]]ก็สามารถมีผลกับการเจริญเติบโตของพืชได้<ref>Srivastava, L. M. 2002. ''Plant growth and development: hormones and environment''. Amsterdam: Academic Press. Page 140.</ref>
 
ฮอร์โมนพืชไม่ใช่[[สารอาหารสำหรับพืช|สารอาหารของพืช]] แต่เป็นสารเคมีที่ใช้ในปริมาณน้อย ๆ เพื่อส่งเสริมและควบคุมการเติบโตของพืช<ref>Helgi Öpik, Stephen A. Rolfe ''The Physiology of Flowering Plants'', Published 2005, Cambridge University Press Plant physiology Page 191, ISBN 0521662516</ref> ซึ่งรวมไปถึงการเปลี่ยนสภาพของเซลล์และเนื้อเยื่อด้วย โดยพืชสามารถเคลื่อนย้ายฮอร์โมนได้หลายวิธี สำหรับการเคลื่อนย้ายเฉพาะตำแหน่งจะใช้กลไกของกระแสไซโทพลาซึมและการแพร่กระจายอย่างช้า ๆ ของไอออนและโมเลกุลระหว่างเซลล์ ส่วนการเคลื่อนย้ายระหว่างส่วนต่าง ๆ ของพืชจะใช้เนื้อเยื้อท่อน้ำเลี้ยงในการเคลื่อนย้ายฮอร์โมน ซึ่งรวมถึงท่อลำเลียงอาหารที่ใช้เคลื่อนย้ายน้ำตาลจากใบไปรากและดอก ส่วนท่อลำเลียงน้ำที่ใช้เคลื่อนย้ายน้ำและแร่ธาตุจากรากไปใบ
นอกจากนั้นยังมีสารเคมีที่เกี่ยวข้องจำนวนมากที่สามารถูกสังเคราะห์ขึ้นมาได้ และถูกใช้สำหรับการควบคุมการเจริญเติบโตของพืชที่เพาะปลูก, [[วัชพืช]], พืชที่ปลูกในหลอดทดลองหรือ[[จากเพาะเชื้อ]], รวมถึงเซลล์พืช
สารเคมีที่ถูกสังเคราะห์ขึ้นนี้จะถูกเรียกว่า "สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช" (Plant Growth Regulator หรือ ย่อว่า "PGR")
 
เซลล์พืชไม่สามารถตอบสนองกับฮอร์โมนได้ทุกเซลล์ ซึ่งเซลล์แต่กลุ่มจะตอบสนองกับฮอร์โมนในจังหวะเวลาจำเพาะของตัวเอง พืชต้องการฮอร์โมนเฉพาะที่และเฉพาะเวลาในรอบวงจรการเจริญเติบโตมัน และพืชยังต้องการที่จะปลดปล่อยผลของฮอร์โมนออกในเวลาที่ไม่ต้องการอีกด้วย โดยฮอร์โมนจะถูกสร้างขึ้นบ่อยครั้ง ณ บริเวณที่มีการเติบโตมากใน[[เนื้อเยื่อเจริญ]] (ก่อนที่เซลล์จะแปลงสภาพเสร็จ) และหลังจากที่ฮอร์โมนถูกสร้างขึ้นมาบางครั้งฮอร์โมนก็จะถูกเคลื่อนย้ายไปที่ส่วนอื่น ๆ ของพืช
ฮอร์โมนพืชไม่ใช่[[สารอาหารสำหรับพืช|สารอาหารของพืช]] แต่เป็นสารเคมีที่ใช้ในปริมาณน้อยๆเพื่อส่งเสริมและควบคุมการเติบโตของพืช<ref>Helgi Öpik, Stephen A. Rolfe ''The Physiology of Flowering Plants'', Published 2005, Cambridge University Press Plant physiology Page 191, ISBN 0521662516</ref> รวมถึงการเปลี่ยนสภาพของเซลล์และเนื้อเยื่อ
 
ความเข้มข้นของฮอร์โมนที่พืชใช้อยู่ในระดับที่ต่ำมาก (10<sup>-6</sup> to 10<sup>-5</sup> [[mole (unit)|mol]]/[[liter|L]]) ซึ่งความเข้มข้นในระดับที่ต่ำมากนี้ทำให้การศึกษาเกี่ยวกับฮอร์โมนพืชทำได้ยากมาก และเพิ่งจะช่วงหลังของทศวรรษที่ 1970 มานี้เองที่การศึกษาเรื่องฮอร์โมนพืชที่เชื่อมโยงฮอร์โมนพืชแต่ละตัว, ผลระหว่างกันผล และระหว่างผลกับพืช เพิ่งจะถูกรวมเข้าไว้ด้วยกันได้<ref>Srivastava, L. M. 2002. ''Plant growth and development hormones and environment''. Amsterdam: Academic Press. Page 143.</ref>
พืชจะเคลื่อนย้ายฮอร์โมนได้หลายวิธี
สำหรับการเคลื่อนย้ายเฉพาะตำแหน่งจะใช้กลไกของกระแสไซโทพลาซึมและการแพร่กระจายช้าๆของไอออนและโมเลกุลระหว่างเซลล์
สำหรับการเคลื่อนย้ายระหว่างส่วนต่างๆของพืชจะใช้เนื้อเยื้อท่อน้ำเลี้ยงในการเคลื่อนย้ายฮอร์โมน รวมถึงท่อลำเลียงอาหารที่ใช้เคลื่อนย้ายน้ำตาลจากใบไปรากและดอก และท่อลำเลียงน้ำที่ใช้เคลื่อนย้ายน้ำและแร่ธาตุจากรากไปใบ
 
ไม่ใช่ว่าเซลล์พืชทุกเซลล์จะตอบสนองกับฮอร์โมน เซลล์แต่กลุ่มจะตอบสนองกับฮอร์โมนในจังหวะเวลาจำเพาะของตัวเอง
พืชต้องการฮอร์โมนเฉพาะที่และเฉพาะเวลาในรอบวงจรการเจริญเติบโตมัน และพืชยังต้องการที่จะปลดปล่อยผลของฮอร์โมนออกในเวลาที่ไม่ต้องการด้วย
ฮอร์โมนจะถูกสร้างขึ้นบ่อยมากๆที่บริเวณที่มีการเติบโตมากใน[[เนื้อเยื่อเจริญ]] (ก่อนที่เซลล์จะแปลงสภาพเสร็จ) หลังจากที่ฮอร์โมนถูกสร้างขึ้นมาบางครั้งฮอร์โมนก็จะถูกเคลื่อนย้ายไปที่ส่วนอื่นๆของพืช
 
ความเข้มข้นของฮอร์โมนที่พืชใช้อยู่ในระดับที่ต่ำมากๆ (10<sup>-6</sup> to 10<sup>-5</sup> [[mole (unit)|mol]]/[[liter|L]])
ความเข้มข้นในระดับที่ต่ำมากนี้ทำให้การศึกษาเกี่ยวกับฮอร์โมนพืชทำได้ยากมาก และเพิ่งจะช่วงหลังของทศวรรษที่ 1970 ที่การศึกษาเรื่องฮอร์โมนพืชที่เชื่อมโยงฮอร์โมนพืชแต่ละตัว ผลระหว่างกัน และผลกับพืช เข้าด้วยกันได้<ref>Srivastava, L. M. 2002. ''Plant growth and development hormones and environment''. Amsterdam: Academic Press. Page 143.</ref>
 
== ชนิดของฮอร์โมนพืช ==
โดยทั่วไปแล้ว ฮอร์โมนพืชถูกแบ่งเป็น 5 ชนิดใหญ่ๆ โดยชนิดจะถูกจำแนกโดย ความคล้ายคลึงกันทางโครงสร้างเคมี และ ผลทางชีวภาพต่อต้นพืช
 
ฮอร์โมนและสารควบคุมการเจริญเติบโตบางชนิดไม่สามารถถูกจัดเข้ากลุ่มเหล่านี้ได้ง่ายๆ ซึ่งสารเคมีเหล่านั้นรวมถึง สารที่ยับยั้งการเจริญเติบโต หรือสารที่รบกวนระบบชีวภาพของพืช
 
ชนิดทั้ง 5 คือ:
 
====กรดแอบไซซิก====
[[ไฟล์:Abscisinsäure.svg|thumb|right|155px|กรดแอบไซซิก]]
 
[[กรดแอบไซซิก]] ประกอบด้วยสารเคมีที่ปกติผลิตจาก[[คลอโรพลาสต์]]ที่ใบพืช โดยเฉพาะเมื่อพืชอยู่ภายใต้ภาวะเครียด
โดยทั่วไปแล้ว กรดแอบไซซิกจะออกฤทธิ์ยับยั้งออกฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบโตของพืช ทำให้พืชทนต่อสภาวะเครียดต่างๆได้ดี มีบทบาทในการเจริญพัฒนาของเอ็มบริโอ การพักตัวของเมล็ดและของตาพืช
 
====ออกซิน====
[[Image:Indol-3-ylacetic acid.svg|thumb|right|155px|The auxin indoleacetic acid]]
 
[[ออกซิน]] เป็นสารเคมีที่มีผลส่งเสริมกระตุ้นการแบ่งเซลล์และการยืดตัวของเซลล์ การแตกหน่อและการสร้างราก
ออกซินยังส่งเสริมการสร้างฮอร์โมนอื่นๆและ ทำงานร่วมกับ[[ไซโตไคนิน]]ในการควบคุมการเจริญเติบโตของกิ่งก้าน ราก ผล และ ดอก<ref>By [[Daphne Osborne|Daphne J. Osborne]], Michael T. McManus ''Hormones, Signals and Target Cells in Plant Development''. Published 2005, Cambridge University Press. Page 158. </ref>
 
====ไซโตไคนิน====
[[ไฟล์:Zeatin.png|thumb|150px|The cytokinin [[zeatin]] , ''[[Teosinte|Zea]]'', in which it was first discovered in immature kernels.]]
 
[[ไซโตไคนิน]] เป็นสารเคมีที่มีผลกับการแบ่งเซลล์และการแตกหน่อ
ไซโตไคนินยังช่วยชะลอการแก่ตัวของเนื้อเยื้อ และช่วยในการเคลื่อนย้าย[[ออกซิน]]ภายในพืชด้วย
 
====เอทิลีน====
[[ไฟล์:Ethene-2D-flat.png|100px|right|Ethylene|thumb]]
 
โดยทั่วไปแล้วฮอร์โมนพืชถูกแบ่งออกเป็น 5 ชนิดใหญ่ ๆ โดยชนิดจะถูกจำแนกโดยความคล้ายคลึงกันทางโครงสร้างเคมีและผลทางชีวภาพต่อต้นพืช โดยฮอร์โมนและสารควบคุมการเจริญเติบโตบางชนิดไม่สามารถถูกจัดเข้ากลุ่มเหล่านี้ได้ง่ายๆง่าย ๆ ซึ่งสารเคมีเหล่านั้นรวมถึง สารที่ยับยั้งการเจริญเติบโต หรือสารที่รบกวนระบบชีวภาพของพืช ได้แก่
[[เอทิลีน]] เป็นสารเคมีที่มีสภาพเป็นก๊าซที่อุณหภูมิห้อง เอทิลีนช่วยควบคุมกระบวนการเติบโตที่เกี่ยวข้องกับความชรา การหลุดร่วงของใบ ดอก ผล และควบคุมการเจริญของพืชเมื่ออยู่ในสภาวะที่ไม่เหมาะสม
 
*[[กรดแอบไซซิก]] - เป็นสารที่ประกอบด้วยสารเคมีที่ปกติผลิตจาก[[คลอโรพลาสต์]]ที่ใบพืช โดยเฉพาะเมื่อพืชอยู่ภายใต้ภาวะเครียด โดยทั่วไปแล้ว กรดแอบไซซิกจะออกฤทธิ์ยับยั้งออกฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบโตของพืช ทำให้พืชทนต่อสภาวะเครียดต่างๆต่าง ๆ ได้ดี และมีบทบาทในการเจริญพัฒนาของเอ็มบริโอ ซึ่งรวมไปถึงการพักตัวของเมล็ดและของตาพืช
====จิบเบอเรลลิน====
*[[ออกซิน]] - เป็นสารเคมีที่มีผลส่งเสริมกระตุ้นการแบ่งเซลล์, การยืดตัวของเซลล์, การแตกหน่อ และการสร้างราก ออกซินยังส่งเสริมการสร้างฮอร์โมนอื่นๆชนิดอื่นและ ทำงานร่วมกับ[[ไซโตไคนิน]]ในการควบคุมการเจริญเติบโตของกิ่งก้าน, ราก, ผล, และ ดอก<ref>By [[Daphne Osborne|Daphne J. Osborne]], Michael T. McManus ''Hormones, Signals and Target Cells in Plant Development''. Published 2005, Cambridge University Press. Page 158. </ref>
[[ไฟล์:Gibberellin A1.svg|thumb|right|175px|Gibberellin A1]]
*[[ไซโตไคนิน]] - เป็นสารเคมีที่มีผลกับการแบ่งเซลล์และการแตกหน่อ ซึ่งไซโตไคนินยังช่วยชะลอการแก่ตัวของเนื้อเยื้อ และช่วยในการเคลื่อนย้าย[[ออกซิน]]ภายในพืชด้วย
*[[เอทิลีน]] - เป็นสารเคมีที่มีสภาพเป็นก๊าซที่อุณหภูมิห้อง เอทิลีนช่วยควบคุมกระบวนการเติบโตที่เกี่ยวข้องกับความชรา, การหลุดร่วงของใบ, ดอก, ผล และควบคุมการเจริญของพืชเมื่ออยู่ในสภาวะที่ไม่เหมาะสม
*[[จิบเบอเรลลิน]] - เป็นสารเคมีที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับ การงอกของเมล็ด, การสร้างเอนไซม์ที่เกี่ยวกับการเคลื่อนย้ายอาหาร และการเจริญของเซลล์ใหม่ ซึ่งจิบเบอเรลลินจะช่วยส่งเสริมการออกดอก, การแบ่งเซลล์ และการเติบโตของเมล็ดหลังงอก
 
== สูตรโครงสร้าง ==
[[จิบเบอเรลลิน]] เป็นสารเคมีที่เกี่ยวกับ การงอกของเมล็ด การสร้างเอนไซม์ที่เกี่ยวกับการเคลื่อนย้ายอาหารและการเจริญของเซลล์ใหม่
{| class="wikitable" border="1" style="margin: 1em auto 1em auto" width=100%
จิบเบอเรลลินช่วยส่งเสริมการออกดอก การแบ่งเซลล์และการเติบโตของเมล็ดหลังงอก
|-
|width = 20% align="center"|[[ไฟล์:Abscisinsäure.svg|165px]]
|width = 20% align="center"|[[ไฟล์:Indol-3-ylacetic acid.svg|155px]]
|width = 20% align="center"|[[ไฟล์:Zeatin.png|135px]]
|width = 20% align="center"|[[ไฟล์:Ethene-2D-flat.png|100105px|right|Ethylene|thumb]]
|width = 20% align="center"|[[ไฟล์:Gibberellin A1.svg|155px]]
|-
|align===="center"|กรดแอบไซซิก====
|align===="center"|ออกซิน====
|align===="center"|ไซโตไคนิน====
|align===="center"|เอทิลีน====
|align===="center"|จิบเบอเรลลิน==== เอ 1
|}
 
== อ้างอิง ==