ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Garam (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 3085281 สร้างโดย MSRLC (พูดคุย) // Ref. is other wikipedia..?!
SasiG (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
[[ไฟล์:Nile River and delta from orbit.jpg|ภาพถ่ายจากดาวเทียมปาก[[แม่น้ำไนล์]]|thumb|250px|right]]
[[ไฟล์:Ganges River Delta, Bangladesh, India.jpg|ภาพถ่ายจากดาวเทียมปาก[[แม่น้ำคงคา]]|thumb|250px|right]]
เส้น 10 ⟶ 9:
มีการกัดเซาะเนื่องจากอิทธิพลของคลื่นเป็นตัวควบคุมรูปร่างของดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำ แม้ว่าจะมีการกัดเซาะ แต่เมื่อเทียบปริมาณการสะสมตัวของตะกอนกับการถูกกัดเซาะ ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำก็ยังสามารถสะสมตะกอนออกสู่ทะเลได้ ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำที่มีการกระทำของคลื่นที่โดดเด่น เช่น ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำไนล์ มักมีรูปลักษณะเป็นรูปสามเหลี่ยม
''การกระทำของกระแสน้ำขึ้นลงที่โดดเด่น''
การกัดเซาะมีความสำคัญต่อดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำที่มีความโดดเด่นของกระแสน้ำขึ้นลง ด้วยเช่นกัน อย่างเช่น สามเหลี่ยมปากแม่น้ำคงคา ซึ่งพื้นที่ส่วนใหญ่จะอยู่ใต้น้ำ และจะมีแนวสันทรายที่เด่นชัด ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำที่เกิดจากการกระทำของกระแสน้ำขึ้นลง มีความแตกต่างจากการกระทำของคลื่น และแม่น้ำ กล่าวคือ จะมีการแตกแขนงของแม่น้ำสายหลักไม่มาก ในขณะที่คลื่น หรือแม่น้ำ จะมีการแตกสาขาของทางน้ำที่มีตะกอนทรายละเอียดมาปิดทับ หรือเป็นทางน้ำที่พัฒนาขึ้นมาใหม่ การแตกสาขาของทางน้ำบนดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำ จะเกิดในช่วงที่บริเวณโดยรอบมีปริมาณน้ำมาก เช่น น้ำท่วม หรือการเกิดพายุ ทำให้เกิดการสะสมของตะกอนทรายละเอียด อย่างช้าๆ จนกระทั่งมีอัตราการสะสมตะกอนคงที่ ของดินดอนสามเหลี่ยมปากเเม่น้ำ หรือ River delta <ref>[http://en.wikipedia.org/wiki/River_delta#cite_ref-SlingerlandSmith_0-0],River delta</ref>
 
==อ้างอิง==
{{ต้องการรายการอ้างอิง}}
 
[[หมวดหมู่:ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำ| ]]