ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คำประกาศอิสรภาพสหรัฐ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Luckas-bot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.1) (โรบอต เพิ่ม: ar, az, bg, bs, ca, cs, cy, da, de, el, eo, es, et, fa, fi, fr, he, hi, hr, hu, id, is, it, ja, ka, ko, la, lt, lv, mk, mr, ms, nl, nn, no, pl, pt, ro, ru, sh, simple, sk, sl, sr, sv, tr, uk, vi, zh, zh-yue
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''คำประกาศอิสรภาพสหรัฐอเมริกา''' เป็นแถลงการณ์ซึ่ง[[สภาภาคพื้นทวีป]]ลงมติยอมรับเมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม ค.ศ. 1776 ซึ่งมีใจความว่า [[สิบสามอาณานิคม]] ซึ่งในเวลานั้นกำลังทำสงครามอยู่กับ[[ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่]]เป็นรัฐเอกราชแล้ว และดังนั้น ไม่ถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของ[[จักรวรรดิอังกฤษ]]อีกต่อไป คำประกาศอิสรภาพส่วนใหญ่เขียนขึ้นโดย[[โทมัส เจฟเฟอร์สัน]] อธิบายอย่างเป็นทางการว่าเหตุใดสภาจึงลงมติเมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม เพื่อประกาศอิสรภาพจากบริเตนใหญ่ ราวหนึ่งปีหลังจากการปะทุของ[[สงครามปฏิวัติอเมริกัน]] วันเกิดของ[[สหรัฐอเมริกา]] หรือวันประกาศเอกราช มีการเฉลิมฉลองขึ้นเมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม ซึ่งตรงกับวันครบรอบที่คำประกาศอิสรภาพได้รับการเห็นชอบโดยสภา
 
คำประกาศอิสรภาพดังกล่าวอธิบายเอกราชของสหรัฐอเมริกาโดยลำดับความเดือดร้อนของอาณานิคมจาก[[สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร|พระเจ้าจอร์จที่ 3]] และโดยการยืนยัน[[สิทธิธรรมชาติ]] ตลอดจน[[สิทธิในการปฏิวัติ]] จุดประสงค์ดั้งเดิมของเอกสารในการประกาศอิสรภาพ แต่ทว่าข้อความของการประกาศอิสรภาพเดิมได้ถูกปฏิเสธไปหลังจาก[[การปฏิวัติอเมริกัน]] แต่ความสำเร็จของมันได้เพิ่มมากขึ้นตามกาลเวลา โดยเฉพาะอย่างยิ่งประโยคที่สอง อันเป็นข้อความที่ครอบคลุมถึงสิทธิมนุษย์ปัจเจกชน:
 
<blockquote>
เราถือว่าความจริงต่อไปนี้เป็นสิ่งที่ประจักษ์แจ้งอยู่ในตัวเอง นั่นคือ มนุษย์ทุกคนถูกสร้างขึ้นมาอย่างเท่าเทียมกัน และพระผู้สร้างได้มอบสิทธิบางประการที่จะเพิกถอนมิได้ไว้ให้แก่มนุษย์ ในบรรดาสิทธิเหล่านั้นได้แก่ ชีวิต เสรีภาพและการเสาะแสวงหาความสุข
</blockquote>
 
ประโยคนี้ถูกเรียกว่าเป็น "หนึ่งในประโยคที่เป็นที่รู้จักกันดีที่สุดในภาษาอังกฤษ" และ "คำที่มีอำนาจและผลกระทบมากที่สุดในประวัติศาสตร์อเมริกัน" และจากแนวคิดในการปกป้องสิทธิปัจเจกชนและกลุ่มคนชายขอบนี้เองที่มีอิทธิพลอย่างยิ่งต่อ[[อับราฮัม ลินคอล์น]] ผู้ซึ่งพิจารณาว่าคำประกาศอิสรภาพดังกล่าวเป็นรากฐานของปรัชญาการเมืองของตน
 
[[หมวดหมู่:ทอมัส เจฟเฟอร์สัน]]