ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กระท้อน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ใส่อ้างอิงไม่ชัดเจน เหมือนโฆษณาเว็บมากกว่า
บรรทัด 28:
พันธุ์ที่ได้รับความนิยมสูงสูดเป็นพันธุ์กระท้อนห่อที่มีรสหวาน ได้แก่ พันธุ์อีล่า ปุยฝ้าย นิ่มนวล อินทรชิต ทับทิม ขันทอง เทพรส อีแดง ส่วนพันธุ์พื้นเมืองจะมีผลดก ผลมีขนาดเล็ก รสเปรี้ยว จึงนิยมนำมาทำเป็น กระท้อนดอง [[กระท้อนทรงเครื่อง]]<ref>http://www.tistr.or.th/t/publication/page_area_show_bc.asp?i1=65&i2=16</ref>
กระท้อน;พันธุ์ปุยฝ้าย (ปุยฝ้ายแท้)
: เป็นกระท้อนพันธุ์พื้นเมืองของ ต.ตะลุง เป็นที่นิยม
บริโภคมากที่สุด ด้วยที่กระท้อนผลกระท้อนมีรสหวาน มีเปลือกที่นิ่ม และเม็ดกระท้อนมีปุย
เหมือนปุยฝ้ายจึงเป็นกระท้อนที่จำหน่ายได้สูงสุด
 
:ลักษณะผลกระท้อนพันธุ์ปุยฝ้าย : ขนาดของผลมีตั้งแต่เล็กไปถึงใหญ่ สีเหลืองนวลสวย
ผลกลมแป้น เม็ดกระท้อนจะมีปุยมากกว่าสายพันธุ์อื่น ปุยกระท้อนเมื่อทานไปแล้วจะเหมือนว่า
ปุยกระท้อนละลายในปาก ชาวสวนกระท้อนนิยมเรียกว่าปุยฝ้ายแท้
 
กระท้อน;พันธุ์อีล่า (ปุยฝ้ายเกษตร)
: เป็นกระท้อนพันธุ์พื้นเมือง จ.ปราจีนบุรี ซึ่งชาวบ้าน
ต.ตะลุง ได้รับแจกสายพันธุ์มาจากกระทรวงเกษตร เล่ากันว่าชาวปราจีนบุรี เรียกกระท้อนพันธุ์นี้ว่า
ปุยฝ้ายเหมือนกัน แต่แตกต่างกันที่รสชาติที่กระท้อนอีล่าเมื่อยังไม่แก่จัดจะมีรสอมเปรี้ยว และ
ผลกระท้อนจะมีขนาดใหญ่มากบางผลน้ำหนักถึง 0.9 กิโลกรัม
 
:ลักษณะผลกระท้อนพันธุ์อีล่า : ขนาดของผลมีขนาดใหญ่ ผิวจะไม่เรียบ สีโทนเหลืองสด
ผลคล้ายเป็นจุก รสอมเปรี้ยวเมื่อยังไม่แก่จัด หากผลแก่รสชาติจะหวานมีปุยเหมือนปุยฝ้าย
กระท้อนพันธุ์อีล่า มักจะสุกช้ากว่ากระท้อนทุกพันธุ์
 
;พันธุ์ทับทิม
กระท้อนพันธุ์ทับทิม : เป็นกระท้อนพันธุ์เมืองดั้งเดิม ของ ต.ตะลุง แต่ไม่มีคนรู้จักมากนัก เนื่องจากมีชาวสวนที่ปลูกกระท้อนพันธุ์ทับทิมไม่มาก แต่ด้วยรสชาติที่มีรสหวาน ทำให้เป็นที่ถูกใจคนที่เคยชิมกระท้อนพันธุ์ทับทิม
 
:ลักษณะผลกระท้อนพันธุ์ทับทิม : ลักษณะผลกลม มีขนาดไม่ใหญ่มาก สีเหลืองนวล
ผิวกระท้อนเรียบเนียนสวย เปลือกนิ่ม ผลกลม
 
กระท้อน;พันธุ์นิ่มนวล
: เป็นกระท้อนที่มีลักษณะ เปลือกบาง เนื้อหนานิ่ม ไม่กระด้าง
ปุยหุ้มเมล็ดหนาฟู รสหวานจัดเป็นสายพันธุ์ที่นิยมบริโภคกันมาก
 
:ลักษณะผลกระท้อนพันธุ์นิ่มนวล : ทรงผลกลมแป้น มีขั้วสั้น ผิวเปลือกเรียบมีสีเหลือง
อมน้ำตาล เปลือกบาง ขนาดผล 300 - 600 กรัมต่อผล ผลกลม
<ref>http://www.kraton.ob.tc</ref>
 
 
 
== สรรพคุณ ==
บรรทัด 67:
ราก เป็นยาขับลม แก้ท้องเสีย [[บิด]] เป็นยาธาตุ<ref>http://www.chiangmainews.co.th/viewnews.php?
id=19060&lyo=1</ref>
 
 
== อ้างอิง ==