ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปุ๋ยหมัก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
พุทธพร ส่องศรี (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
พุทธพร ส่องศรี (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 9:
* การเตรียมวัสดุต่าง ๆ เพื่อนำมาใช้ผลิตปุ๋ยหมัก
** ซากพืช เช่น ฟางข้าว เปลือกถั่ว ต้นถั่ว ต้นข้าวโพด ใบอ้อย ต้นและใบฝ้าย ซากพืชตระกูลถั่วต่างๆทั้งที่เป็นหญ้าสดและหญ้าแห้ง ใบไม้ทุกชนิด เป็นต้น
** ซากสัตว์ หรือ ปุ๋ยคอก เป็นแหล่งของจุลินทรีย์และอาหารของจุลินทรีย์หรืออาจจะใช้สารเร่งที่เป็นแหล่งจุลินทีรย์จุลินทรีย์ที่มีประสิทธิภาพในการย่อยสลาย
** ปุ๋ยเคมี ในการทำปุ่ยหมักมักมีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มธาตุอาหาร ให้เแก่จุลินทีรย์ เช่น การเพิ่มธาตุไนโตรเจนลงในกองปุ๋ย ซึ่งจะใช้ปุ๋ยแอมโมเนียมซัลเฟต หรือ ปุ๋ยยูเรีย เพื่อเป็นแหล่งธาตุอาหารให้แก่จุลินทีรย์ที่ทำหน้าที่ในการย่อยสลายซากพืชในกองปุ๋ยหมัก โดยไนโตรเจนจากปุ๋ยเคมีที่ใส่ลงในกองปุ๋ยจะถูกจุลินทรีย์นำไปใช้และแปรสภาพให้เป็นสารอินทรีย์ไนโตรเจน
** [[ปูนขาว]] เป็นการใส่เพื่อปรับสภาพความเป้นกรดเป้นด่างให้เหมาะสม ต่อการเจริญเติบโตและการย่อยสลายซากพืชจากจุลินทรีย์ ดดยการใช้ปุนขาว ประมาณ 20 กิโลกรัม ต่อซากพืชแห้ง 1ตัน
** อุปกรณ์ต่างๆที่ใช้ในการผลิตปุ๋ย
 
== ขั้นตอนการกองปุ๋ยหมัก ==
# ชั้นล่างสุดหรือชั้นที่ 1 เมื่อนำวัสดุที่เป้นซากพืชมากองจนได้ความหนาขนาด 30-40 cm โดยมีขนาดตวามกว้างและความยาวตามต้องการ รดน้ำให้ชุ่มและเหยียบย่ำหรืออัดให้แน่น เพื่อให้น้ำแทรกซึมเข้าสู่เศษวัสดุ โรยทับด้วยปุ๋ยคอกให้ทั่ว หนาประมาณ 5 cm รดน้ำและรดสารเร่งที่เตรียมไว้เป็นสารละลายตามความเข้มข้นที่ระบุไว้ในฉลาก และหว่านปุ๋ยเคมีทับลงเปนชั้นบางๆๆ