ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อนุสาวรีย์พิทักษ์รัฐธรรมนูญ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ipats (คุย | ส่วนร่วม)
M sky (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
[[ไฟล์:Pitak_Ratthathammanun_Monument.JPG|thumb|250px|อนุสาวรีย์พิทักษ์รัฐธรรมนูญ วงเวียนหลักสี่]]
 
{{กล่องข้อมูล ทางแยก
| name_th = อนุสาวรีย์หลักสี่พิทักษ์รัฐธรรมนูญ
| name_en = Anusawari Lak Si Circle
| type = 1
| pattern = O
| image =Pitak_Ratthathammanun_Monument.JPG
| caption =
| ID = [[รายชื่อทางแยกในกรุงเทพมหานคร|N110]]
เส้น 20 ⟶ 17:
| e_next = [[แยกลาดปลาเค้า]]
}}
'''อนุสาวรีย์พิทักษ์รัฐธรรมนูญ''' เป็น[[อนุสาวรีย์]]ที่ตั้งอยู่ที่วงเวียนหลักสี่ จุดตัดระหว่าง[[ถนนพหลโยธิน]] กับ[[ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 304|ถนนแจ้งวัฒนะ]] และ[[ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 304|ถนนรามอินทรา]] ตั้งอยู่ในพื้นที่แขวงอนุสาวรีย์ [[เขตบางเขน]] [[กรุงเทพมหานคร]] บางครั้งอาจเรียกบริเวณนี้ว่า'''วงเวียนหลักสี่''' หรือ'''วงเวียนบางเขน''' ขณะที่อนุสาวรีย์พิทักษ์รัฐธรรมนูญจัดสร้างขึ้นเพื่อรำลึกถึงเหตุการณ์ความขัดแย้งทางการเมืองการปราบ[[กบฎบวรเดช]] โดยมีการบรรจุอัฐิทหารและตำรวจที่เสียชีวิตในเหตุการณ์ดังกล่าวไว้ภายในรวม 17 นาย จึงมีชื่อเรียกอื่นๆ ว่าได้แก่ "อนุสาวรีย์ปราบกบฏ",กบฎ "อนุสาวรีย์ 17 ทหารและตำรวจ" หรือ "อนุสาวรีย์หลักสี่" หรืออนุสาวรีย์หลวงอำนวยสงคราม
 
อนุสาวรีย์พิทักษ์รัฐธรรมนูญได้รับการออกแบบโดยหลวงนฤมิตรเลขการ อาจารย์ประจำ[[โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า]] โดยยึดหลักทางการเมืองของรัฐบาล 5 ประการ คือ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ กองทัพ และรัฐธรรมนูญ การก่อสร้างแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2479 มีการทำพิธีเปิดในวันที่ 15 ตุลาคม ปีเดียวกัน โดย[[พระเจ้าวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา]] ประธานคณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์[[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล]] ทรงประกอบพิธีเปิด
'''อนุสาวรีย์พิทักษ์รัฐธรรมนูญ''' ตั้งอยู่ที่วงเวียนจุดตัด[[ถนนพหลโยธิน]] กับ[[ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 304|ถนนแจ้งวัฒนะ]] และ[[ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 304|ถนนรามอินทรา]] อยู่ในพื้นที่แขวงอนุสาวรีย์ [[เขตบางเขน]] [[กรุงเทพมหานคร]] บางครั้งอาจเรียกบริเวณนี้ว่า'''วงเวียนหลักสี่''' หรือ'''วงเวียนบางเขน''' ขณะที่อนุสาวรีย์พิทักษ์รัฐธรรมนูญ มีชื่อเรียกอื่นๆ ว่า "อนุสาวรีย์ปราบกบฏ", "อนุสาวรีย์ 17 ทหารและตำรวจ" หรือ "อนุสาวรีย์หลักสี่"
 
มีการปรับปรุงพื้นที่บริเวณโดยรอบอนุสาวรีย์พิทักษ์รัฐธรรมนูญอยู่หลายครั้งโดยกรมทางหลวง เพื่อลดปัญหาการจราจรติดขัดโดยรอบอนุสาวรีย์ อาทิ การปรับภูมิทัศน์เป็นสี่แยกและการขุดอุโมงค์ลอดอนุสาวรีย์ ในอนาคต มีโครงการก่อสร้างสะพานลอยข้างอนุสารีย์เพื่อเชื่อมต่อถนนแจ้งวัฒนะและถนนรามอินทรา และโครงการก่อสร้างรถไฟฟ้า[[บีทีเอส]] (สายสีเขียว) และ[[เอ็มอาร์ที]] (สายสีชมพู)
อนุสาวรีย์พิทักษ์รัฐธรรมนูญ เคยใช้เป็นสถานที่เพื่อชุมนุมทางการเมืองของกลุ่ม[[แนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ แดงทั้งแผ่นดิน]] (นปช.) ในปี พ.ศ. 2553 นอกจากนี้ยังมีประเพณีตักบาตรวันขึ้นปีใหม่ ณ บริเวณอนุสาวรีย์แห่งนี้เป็นประจำทุกปี
 
==ประวัติ==