ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การแผลงเป็นไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 14:
 
=== การศึกษา ===
เป็นนโยบายที่มีผลทั่วประเทศ แต่ได้มีผลกระทบต่อพวกที่อยู่บริเวณชายขอบอย่างไม่สมส่วน ตัวอย่างหนึ่งของนโยบายนี้ ได้แก่ การบังคับให้ใช้ภาษาไทยในโรงเรียน ซึ่งมีผลกระทบเพียงเล็กน้อยต่อชาวไทยกลางที่ได้ใช้ภาษาไทยในชีวิตประจำวันอยู่แล้ว แต่มีผลกระทบต่อผู้พูดภาษาถิ่นในภาคอีสาน [[คำเมือง]]ในภาคเหนือ และ[[ภาษายะวี]]ในภาคใต้ มาตรการรุนแรงได้ถูกใช้กับชาวไทยเชื้อสายจีน หลังจากที่[[สาธารณรัฐประชาชนจีน]]ได้รับการสถาปนาขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2492 รัฐบาลต่อต้าน[[คอมมิวนิสต์]]หลายชุด ซึ่งเริ่มตั้งแต่สมัยจอมพล [[ป. พิบูลสงคราม]] ได้ลดจำนวนผู้อพยพชาวจีนอย่างรุนแรงและสั่งห้ามโรงเรียนมัธยมศึกษาภาษาจีนทั้งหมดในประเทศไทย ชาวไทยเชื้อสายจีนที่เกิดหลังคริสต์ทศวรรษ 1950 มี "โอกาสจำกัดมากที่จะเข้าโรงเรียนภาษาจีน" ชาวไทยเชื้อสายจีนที่มีอันจะกินได้ส่งเสียบุตรไปศึกษาภาษาอังกฤษต่อยังต่างประเทศแทนภาษาจีนด้วยเหตุผลทางเศรษฐกิจ ผลที่ตามมาคือ ชาวจีนในประเทซไทยประเทศไทย "เกือบจะสูญเสียภาษาของบรรพบุรุษอย่างสิ้นเชิง" และค่อย ๆ สูญเสียเอกลักษณ์ความเป็นจีนของตนไป<ref>{{Cite book|title=Alternate Identities: The Chinese of Contemporary Thailand|author=Tong, Chee Kiong|coauthors=Chan, Kwok Bun|publisher=[[Brill Publishers]]|year=2001|pages=170–177}}</ref>
 
=== การกระตุ้นชาตินิยม ===