ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คลื่นยักษ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 18:
 
== สาเหตุที่เป็นไปได้ของการเกิดคลื่นยักษ์ ==
เนื่องจากปรากฏการณ์การเกิดคลื่นยักษ์นี้ยังอยู่ในช่วงของการศึกษาวิจับ ดังนั้นจึงยังไม่ได้มีข้อสรุปว่าสาเหตุหลักของการเกิดคลื่นยักษ์นี้คืออะไร และมีสาเหตุที่แตกต่างกันไปตามแต่ละสถานที่หรือไม่ บริเวณที่มีโอกาสเกิดคลื่นยักษ์สูง ดูเหมือนจะเป็นบริเวณที่มี กระแสน้ำรุนแรงไหลสวนทางกับ ทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่นผิวน้ำ เช่น บริเวณใกล้กับ [[แหลมอากูลาส]] ([[:en:Cape Agulhas]]) ทางตอนใต้ของ[[ทวีปแอฟริกา]] แต่คุณลักษณะดังกล่าวก็ไม่ได้อธิบายถึง สาเหตุของคลื่นยักษ์ที่ยัเกิดในบริเวณอื่นบางบริเวณ) ดังนั้นจึงเป็นไปได้ที่จะมีกลไกอื่นที่เป็นสาเหตุให้ซึ่งอาจเกิดคลื่นยักษ์นี้จาก และอาจจะแตกต่างกันไปตามสถานที่ต่างรูปร่างของชายฝั่ง หรือ กลไกของการเกิดคลื่นยักษ์ที่เป็นไปได้มีดังต่อไปนี้พื้นดินก้นทะเล
* การ[[โฟกัส|รวมตัวที่จุดร่วม]]จากกระแสน้ำ* ผลจาก[[การกระเจิงความไม่เชิงเส้น]] (diffractive focusing) ซึ่งอาจเกิดจาก รูปร่างของชายฝั่ง หรือ พื้นดินก้นทะเลในลักษณะเดียวกับ
 
* การรวมตัวที่จุดร่วมจากกระแสน้ำ
* ผลจาก[[ความไม่เชิงเส้น]] (ในลักษณะเดียวกับ [[โซลิตอน]])
 
มีผลงานวิจัยที่ชี้ให้เห็นว่า การเกิดของคลื่นยักษ์จากคลื่นขนาดย่อยจำนวนมาก โดยกระบวนการไม่เป็นเชิงเส้นตามธรรมชาติ นั้นเป็นไปได้ โดยได้มีการตั้งข้อสันนิษฐานว่า คลื่นที่ไม่เสถียรและมีขนาดใหญ่กว่าปกตินี้ เกิดจากการดูดซับพลังงานจากคลื่นย่อย ๆ แล้วก่อตัวเป็นคลื่นขนาดมหึมา ก่อนที่จะสลายตัวอย่างรวดเร็วเนื่องจากความไม่มีเสถียรภาพ คลื่นลักษณะนี้จำลองโดยการใช้ [[สมการเชรอดิงเงอร์ไม่เป็นเชิงเส้น]] ([[:en:nonlinear Schrödinger equation]]) ซึ่งเป็น[[สมการคลื่น]]ที่รู้จักกันดีใน[[ฟิสิกส์ควอนตัม]] สมการเชรอดิงเงอร์ไม่เป็นเชิงเส้นนี้จำลองพฤติกรรมของคลื่นปกติ (จากแบบจำลองเชิงเส้น) ที่ดูดซับพลังงานจากลูกคลื่นก่อนหน้า และที่ตามหลังมา ทำให้คลื่นเหล่านั้นลดขนาดลงจนกลายเป็นเหมือนเพียงผิวน้ำกระเพื่อม ยอดคลื่นขนาดยักษ์ และ ผิวน้ำที่ยุบตัวลงเป็นหลุมลึกที่ปกติพบเห็นทางด้านหน้าและหลังคลื่นนั้น จะปรากฏอยู่เพียงระยะเวลาสั้น ๆ ไม่กี่นาทีก่อนที่จะสลายตัว หรือ ลดขนาดลง
 
คลื่นยักษ์นี้มีอยู่ 3 ประเภท คือ