ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปีเตอร์ ดรักเกอร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 68:
* การกระจายอำนาจและการทำให้เข้าใจง่าย ดรักเกอร์ได้ลดคำสั่งกับรูปแบบการควบคุม และกล่าวว่าบริษัทที่มีการทำงานที่ดีที่สุดก็ต่อเมื่อมีการกระจายอำนาจ ตามแนวคิดของดรัีกเกอร์คือ บริษัทมักจะมีแนวโน้มที่จะผลิตสินค้ามากเกินไป รวมทั้งมีการจ้างพนักงานที่ไม่จำเป็น และมักขยายสู่ภาคเศรษฐกิจที่ควรหลีกเลี่ยง<ref>[http://www.gurteen.com/gurteen/gurteen.nsf/id/X005BADE2/ On replacing command and control by Peter F. Drucker]</ref>
* ความสงสัยลึกซึ้งของทฤษฎีเศรษฐศาสตร์มหภาค ดรักเกอร์ได้โต้แย้งว่าเศรษฐศาสตร์ที่จัดสอนภายในโรงเรียนทั้งหมดไม่สามารถอธิบายถึงลักษณะสำคัญของเศรษฐกิจสมัยใหม่ได้แต่อย่างใด<ref>[http://www.webanswers.com/business/what-was-peter-drucker-theory-1a0646 What was peter drucker theory? - WebAnswers.com]</ref>
* จากการแสดงความเคารพต่อคนงาน ดรักเกอร์เชื่อว่า่พนักงานทั้งหลายต่างเป็นทรัพย์สิน และไม่ได้เป็นหนี้สิน เขาสอนให้รู้ว่าความรู้ของคนงานเป็นส่วนประกอบสำคัญของเศรษฐกิจสมัยใหม่ ใจความสำคัญของแนวปรัชญานี้เป็นมุมมองว่าผู้คนต่างเป็นทรัพยากรที่มีค่าที่สุดขององค์กร และหน้าที่ของผู้จัดการก็คือการเตรียมการและให้ความเป็นเสรีต่อบุคลากรในการดำเนินการ<ref>Drucker, P[http://www. Fcommunicoltd., Collins, Jcom/pages/400_your_workplace_is_a_human_community.,cfm Kotler,Your P.,Workplace Kouzes,is J., Rodin, J., Rangan, V. K., et al., ''The Five Most Important Questions You Will Ever Ask About your Organization'', p.a xixHuman (2008)Community]</ref>
* ความเชื่อในสิ่งที่เขาเรียกว่า "อาการป่วยของรัฐบาล" ดรักเกอร์ไม่ได้มีความลำเอียงต่อรัฐบาล โดยอ้างว่ารัฐบาลอาจไม่สามารถหรือไม่เต็มใจให้บริการใหม่ต่อสิ่งที่ผู้คนมีความจำเป็นหรือต้องการได้ แต่เขาก็เชื่อว่าอาการนี้มิใช่ของรัฐบาลโดยเนื้อแท้ ซึ่งมีอยู่ในบทความ The Sickness of Government (อาการป่วยของรัฐบาล) ในหนังสือ The Age of Discontinuity โดยมีพื้นฐานมาจาก New Public Management ซึ่งเป็นทฤษฎีในการรัฐประศาสน์ที่เป็นระเบียบวินัยครอบคลุมในช่วงยุค 1980 กับ 1990{{อ้างอิง}} <ref>[http://www.spaef.com/file.php?id=192 Educational Governance and the New Public Management]</ref>
* เรามักละทิ้งต่อแผนการ โดยทั้งภาคธุรกิจและรัฐบาลมักมีแนวโน้มที่จะยึดติดกับความสำเร็จในวันวาน มากกว่าที่จะเห็นถึงสิ่งที่เป็นประโยชน์ในระยะยาว
* เชื่อว่าการดำเนินการโดยปราศจากความคิด ย่อมเป็นสาเหตุของความล้มเหลวทุกประการ<ref>[http://www.wwcc.wy.edu/facres/tfs/focalites/LessonPlan_Focalite.pdf ''Planning a successful lesson'']</ref>