ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หุ่นกระบอกไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ตรวจลิขสิทธิ์
Xiengyod (คุย | ส่วนร่วม)
แจ้งต้องการหมวดหมู่ +ต้องการวิกิลิงก์ +เก็บกวาดทันใจด้วยสจห.
บรรทัด 1:
{{ต้องการวิกิลิงก์}}
{{ต้องการหมวดหมู่}}
{{ตรวจลิขสิทธิ์}}
หุ่นกระบอกไทย
หุ่นกระบอกไทยที่ใช้แสดงกันในปัจจุบัน สันนิษฐานว่า สร้างขึ้นโดยอาศัยกรรมวิธีการสร้างหุ่นกระบอกตามแบบหุ่น
ซึ่ง หม่อนราชวงศ์เถาะได้คิดประดิษฐ์ดัดแปลงขึ้น กล่าวคือ ตัวหุ่นกระบอกประกอบขึ้นด้วยส่วนสำคัญ 4 ส่วน ได้แก่ ศีรษะหุ่น ลำตัว มือ เครื่องแต่งกายและเครื่องประดับ หุ่นกระบอก
ส่วนทีึ่ที่เรียนแบบอวัยวะของคนจริงๆ คือ ศีรษะและมือทั้ง 2 ข้าง เท่านั้น ส่วนลำตัวหุ่น เป็นกระบอกไม้ไผ่ทั้งปล้องสอดเข้าไปตรงลำคอ ศรีษะศีรษะและลำตัวถอดออกจากกันได้ เมื่อไม่ใช้แสดงแล้วก็จะถอดออกและเก็บไว้แยกกัน โดยถอดส่วนศีรษะเก็บตั้งไว้บนฐานที่ประดิษฐ์ขึ้นเพื่อตั้งศีรษะหุ่นกระบอก ลำตัวที่เป็นกระบอกไม่ไผ่เมื่อถอดออกแล้วจะนำแยกเก็บต่างหากจากตัวเสื้อที่มีลักษณธคล้ายถุงตัวเสื้อซึ่งมีมือติดอยู่ทั้ง 2 ข้าง พับเก็บใส่หีบ
ศรีษะศีรษะของหุ่นกระบอกส่วนมากจะทำด้วยไม้เนื้อเบาทั้งแท่ง เช่น ไม้ทองหลาง ไม้โมก ไม้สักทอง
ไม้ที่นำมาใช้ควรเป็นไม้เนื้อดีไม่มีตรา แท่งไม้ควรมีขนาดกว้างประมาณ 12 เซนติเมตร และความยาวประมาณ 20 เซนติเมตร เมื่อได้ไม้แล้วช่างก็จะนำมาแกะให้เป็นรูปศรีษะศีรษะ รูปหน้า และลำคอ ส่วนของรูปหน้าและศีรษะยาวประมาณ 10 - 12 เซนติเมตร
ส่วนของลำคอยาวประมาณ 8 เซนติเมตร คว้านให้เป็นรูปกว้างพอที่กระบอกไม้ไผ่รวกจะสอดเข้าไปได้โดยสะดวก เหตุที่ต้องทำลำคอให้ยาว เพระาจะใช้เป็นส่วนต่อกับกระบอกไม้ไผ่ที่เป็นส่วนลำตัวหุ่น เมื่อสวมเสื้อคลุมทับอีกชั้นหนุ่งก็จะได้รูปลำคอพอดี
ขั้นต่อไป คือ ปั้นแต่งด้วยรักสมุกหรือดินให้เป็นจมูก ปาก คิ้ว หู ประเพณีนิยมเกี่ยวกับความเชื่อในการประดิษฐ์ศีรษะหุ่นกระบอกอย่างหนึ่ง คือ ต้องมีพิธีไหว้ครู เบิกเนตรหุ่น คล้ายกับการประดิษฐ์หัวโขนถือกันว่าเป็นสิ่งต้องกระทำ ฉะนั้น การเขียนดวงตาของหุ่นกระบอกจึงจะทำเป็นขั้นตอนสุดท้าย และต้องทำในพิธีด้วย
เส้น 16 ⟶ 18:
ผู้เขียนและผู้เรียบเรียงส่วนเด็กเล็กและเด็กกลาง
นาย ศักดา ปั้นเหน่งเพ็ชร์
ค.บ. (เกียรตินิยม) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ค.ม. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Ph.D. (Department of Anthropology) University of Durham,U.K.