ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อัตราร้อยละ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
[[ไฟล์:Percent_18e.PNG|thumb|เครื่องหมายเปอร์เซ็นต์]]
'''อัตราร้อยละ''' หรือ '''เปอร์เซ็นต์''' (percentage/percent) คือแนวทางในการนำเสนอ[[จำนวน]]โดยใช้[[เศษส่วน]]ที่มีตัวส่วนเป็น [[100]] มักใช้สัญลักษณ์เป็น [[เครื่องหมายเปอร์เซ็นต์]] "%" เช่น ร้อยละ 45 หรือ 45% มีค่าเทียบเท่ากับ {{เศษ|45|100}} หรือ 0.45
เส้น 6 ⟶ 5:
 
ถึงแม้ว่าอัตราร้อยละมักใช้เป็นการเปรียบเทียบค่าที่อยู่ระหว่าง[[ศูนย์]]กับ[[หนึ่ง]] แต่จำนวน[[ไร้มิติ]]ใดๆ ก็สามารถแสดงให้อยู่ในรูปของอัตราร้อยละได้ เช่น 111% มีค่าเท่ากับ 1.11 และ −0.35% มีค่าเท่ากับ −0.0035 เป็นต้น
 
== วิธีการเทียบเป็นบรรยัติไตรยางศ์ ==
 
1.ปากกา 2 ด้าม ราคา 46 บาท แล้วปากกา 5 ด้ามราคากี่บาท '''วิธีทำคือ''' ปากกา 2 ด้าม ราคา 46 บาทปากกา 1 ด้าม ราคา 46/2 บาทเพราะฉะนั้น ปากกา 5 ด้าม ราคา 46/2*5 เท่ากับ 115 บาท
 
 
2.ปากกา 6 ด้าม ราคา 9 บาท แล้วปากกา 15 ด้าม จะราคากี่บาท '''วิธีคิดก็คือ''' ปากกา 6 ด้ามราคา 9 บาท
ปากกา 1 ด้ามราคา 6/9 บาท
เพราะฉะนั้น ปากกา 15 ด้าม ราคา 6/9*15 เท่ากับ 10 บาท
 
 
จะเห็นว่า การเทียบบรรยัติไตรยางศ์ ต้องเทียบเป็น 1 เสมอ แล้วค่อยเทียบเป็นจำนวนตามที่โจทย์บอก ก็จะได้คำตอบ
 
== การเทียบหาร้อยละ ==
 
== การหากำไรขาดทุน ==
 
== การลดราคา ==
 
== บรรยัติไตรยางศ์ส่วนกลับ ==
 
== ดอกเบี้ย ==
 
== ภาษี ==
 
== การนำไปใช้ประโยชน์ ==
 
เราสามารถที่จะนำไปใช้ประโยชน์ได้หลายด้าน ทั้งการค้าขาย เมื่อแม่ค้าต้องการรู้ว่ากำไรหรือขาดทุน หรือให้ส่วนลดแก่เรา ก็จะต้องคำนวนเป็นเปอร์เซ็นต์ หรือเมื่อเราฝากเงินไปให้กับธนาคาร ธนาคารก็จะคิดดอกเบี้ยเป็นรายเดือน รายปี เป็นร้อยละหรือเปอร์เซ็นต์ หรือถ้าเราฝากไม่ครบปี ก็ต้องได้รับดอกเบี้ยตามเวลาที่เราฝาก หรือแม้แต่เวลาที่เราเสียภาษี ก็ต้องใช้เรื่องร้อยละเปอร์เซ็นต์เหมือนกัน หรือแม้แต่เราจะจัดทำแผนภูมิแสดงค่าใช้จ่ายเป็นรายเดือนเป็นแผนภูมิกง ก็ต้องใช้เรื่องของร้อยละเข้ามาช่วย เพื่อที่จะขจัดรายได้ที่ไม่จำเป็นให้ลดน้อยลงหรือออกไป บางคนเห็นว่าร้อยละเป็นเรื่องที่ค่อนข้างยาก แต่ในความจริงแล้วนั้นสำคัญกับชีวิตเรา คณิตศาสตร์เป็นวิชาที่เด็กหลายคนบอกว่ายาก แต่ถ้าตั้งใจและทำความเข้าใจก็จะง่ายไปเอง
 
== ดูเพิ่ม ==