ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปลาน้ำจืด"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Bird42 (คุย | ส่วนร่วม)
<ref>ชื่อหนังสือ คู่มือการเพาะเลี้ยง ปลาน้ำจิดเศรษฐกิจ เล่ม 2 โดย อภิชาติ ศรีสอาด สิงหาคม 2552 เ
Bird42 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''ปลาน้ำจืดเศรษฐกิจ'''

หลักการทั่วไปสำหรับการเลี้ยงปลา
 
ลักษณะพื้นที่ที่เหมาะสมในการเลี้ยงปลาน้ำจืด ควรเป็นพื้มที่ราบลุ่มน้ำท่วมไม่ถึง แหล่งน้ำที่ใช้ในการเลี้ยงปลาควรเป็นน้ำจืด ส่วนใหญ่ได้มาจาก 2 แหล่งคือ แหล่งน้ำธรรมชาติ ได้แก่ แม่น้ำ ลำคลอง หนอง บึง อ่างเก็บน้ำ เขื่อน ที่มีระบบชลประทานเพื่อการเกษตร และจากแหล่งน้ำใต้ดิน ได้แก่ บ่อบาดาล และจะต้องเป็นน้ำจืด มีปริมาณเพียงพอตลอดการดำเนินกิจการเพราะแหล่งน้ำดังกล่าว จะขาดแคลนในช่วงฤดูแล้ง ทั้งนี้การเลือกพื้นที่บ่อควรจะพิจารณาพื้นที่ที่มี การคมนาคมสะดวก สามารถติดต่อกับชุมชนอื่นๆได้ แต่ก็ควรอยู่ห่างจากชุมชนเมืองพอสมควร เพื่อเลี่ยงปัญหาน้ำเสีย จากแหล่งชุมชน และโรงงานอุสาหกรรม และควรอยู่ใกล้แหล่งอาหารและแหล่งพันธุ์ปลา
คุณสมบัติของดินที่เหมาะสมในการเลี้ยงปลา
 
ต้องมีสภาพของดินที่สามารถเก็บกักน้ำเพื่อเลี้ยงปลาได้ และทำให้ปลาที่เลี้ยงมีการเจริญเติบโตดี คุณสมบัติของดินที่เหมาะสม เป็นดินเหนียวหรือดินเหนียวปนทราย เพราะดินเหนียวจะเก็บกักน้ำได้ดี เกิดการพังทลายของคันบ่อน้อยกว่าดินทรายและควรมีสภาพความเป็นกรดเป็นด่างของดินอยู่ระหว่าง 6.5-8.5
 
การแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
ในกรณีที่บ่อมีการขุดใหม่ ก่อนที่จะมีการเลี้ยงปลา ควรระบายน้ำเข้า-ออกจากบ่อปลาบ่อยๆเพื่อให้ความเป็นกรดของดินจะค่อยๆลดลง การแก้ปัญหาดินเปรี้ยวให้มีประสิทธิภาพนั้น จะต้องตรวจวัดค่าความเป็นกรดเป็นด่าง (PH) ของดินในบ่อก่อน จากนั้นจึงใช้ปูนขาวใส่ลงในดินเพื่อปรับให้เหมาะสมกับแต่ละพื้นที่
 
ประโยชน์ของปูนขาว
23:13, 27 มกราคม 2554 (ICT)คงศักดิ์ วิชชาวุธ 5204600121
- ช่วยในการปรับปรุงสภาพของบ่อให้เหมาะสมกับการเลี้ยงปลา
- ช่วยเสริมสร้างและรักษาสุขภาพของปลาทำให้ผลผลิตสูงขึ้น
เส้น 12 ⟶ 20:
- ช่วยแก้ปัญหาน้ำขุ่น โดยทำให้สารที่ปะปนอยู่ในน้ำ เช่น อินทรีย์วัตถุต่างๆ ตกตะกอนได้เร็วขึ้น
- ช่วยลดอันตรายจากสารพิษบางชนิดที่เป็นอันตรายโดยตรงต่อปลา ทำให้สารพิษเหล่านั้นตกตะกอน และไม่ละลายน้ำ เช่น แอมโมเนีย
 
คุณสมบัติของน้ำที่เหมาะสมในการเลี้ยงปลา
 
1.ความขุ่นใส
ความขุ่นของน้ำแสดงให้เห็นว่ามีสารแขวนลอย (suspended matter) ได้แก่อนุภาคดินทราย แพลงค์ตอน แบคทีเรีย ตลอดจนแร่ธาตุต่างๆอยู่มากน้อยเพียงใด ซึ่งจะจำกัดปริมาณแสงให้ส่องลงไปในน้ำได้น้อยลง โดยสารดังกล่าวจะดูดซับแสงไว้ ความขุ่นของน้ำมีผลต่อคุณภาพน้ำ คือ ความขุ่นของน้ำที่เกิดจากปริมาณแพลงค์ตอนโดยปกติเป็นสิ่งที่ดีสำหรับบ่อเลี้ยงสัตว์น้ำ เพราะจะทำให้มีอาหารธรรมชาติสำหรับสัตว์น้ำอุดมสมบูรณ์แต่ความขุ่นที่เกิดจากตะกอนจะมีผลต่อสัตว์น้ำและพืชน้ำ โดยตะกอนจะเข้าไปอุดช่องเหงือกของปลาทำให้การแลกเปลี่ยนแก๊สไม่สะดวก
 
2.ค่าความขุ่นใสของน้ำสามารถควบคุมได้
- ความขุ่นเกิดจากตะกอนดิน ให้มช้ปุ่ยอินทรีย์ใส่ลงในบ่อ จะมำให้ตะกอนดินที่แขวนลอยอยู่ตกตะกอน
- ความขุ่นของน้ำที่เกิดจากแพลงค์ตอน ใช้วิธีระบายน้ำออก เพื่อเอาน้ำใหม่เข้ามา
- ถ้าน้ำมีความขุ่นใสมาก แสดงว่าแพลงค์ตอนในน้ำมีปริมาณน้อย ต้องเติมปุ๋ยลงไปในน้ำ เพื่อให้แพลงค์ตอนเจริญขึ้นมาและวัดค่าความขุ่นใสให้อยู่ในระดับ 30-40 เซนติเมตร
 
3.อุณหภูมิ
- อุณหภูมิของน้ำเป็นปัจจัยสำคัญ ต่อ สิ่งมีชีวิตในแหล่งน้ำทั้งทางตรงและทางอ้อม ทางตรงคือเมื่ออุณหภูมิของน้ำสูงขึ้นกิจกรรมต่างๆ ในการดำรงชีวิต (เช่น การหายใจ การเต้นของหัวใจ การกิน และการย่อยอาหาร เป็นต้น ) ก็สูงขึ้นและเมื่ออุณหภูมิของน้ำลดลงกิจกรรมเหล่านั้นก็จะลดลง โดยปกติปลาในเขตร้อนอุณหภูมิที่เหมาะสม ควรมีอุณหภูมิอยู่ในช่วง 25 - 32 องศาเซลเซียส
 
4.ปริมาณออกซิเจนที่ละลายน้ำ
ปริมาณออกซิเจนที่ละลายน้ำมีความสำคัญต่อสิ่งมีชีวิตในน้ำ โดยสิ่งมีชีวิตในน้ำจะเอาออกซิเจนไปใช้ในขบวนการหายใจและขบวนการย่อยสลายอินทรีย์วัตถุ
 
5.ค่าความเป็นกรดด่าง ( pH ) ของน้ำ
เป็นการวัดปริมาณของไฮโดรเจนอิออนที่มีอยู่ในน้ำ ซึ่งเป็นเครื่องแสดงให้เราทราบว่าน้ำนั้นเป็นกรดหรือด่าง ค่า pH มีค่าอยู่ระหว่าง 0-14 โดยมี pH7 เป็นจุดกลาง หรือมีค่าเป็นกลาง pH ต่ำกว่า 7มีค่าเป็นกรด และ pH สูงกว่า 7 มีค่าเป็นด่าง การวัดค่า pH ใช้เครื่องมือที่เรียกว่า pH Meter หรือใช้กระดาษ pH ก็ได้ แต่ค่าที่ได้ไม่ละเอียดที่ควร
 
6.ค่าความเป็นด่าง
ความเป็นด่างของน้ำ หมายถึง ความเข้มข้นของด่างซึ่งส่วนใหญ่เป็นไอออนของคาร์บอเนต น้ำที่เหมาะสมต่อการเลี้ยงปลา ควรมีค่าความเป็นกรดด่างระหว่าง 100-120 มิลลิกรัม/ลิตร
 
7.ความกระด้าง
ความกระด้างของน้ำหมายถึง ความเข้นข้นของไอออนของแคลเซียมและแมกนีเซียมที่ละลายอยู่ในน้ำ
 
คงศักดิ์ วิชชาวุธ 5204600121 23:13, 27 มกราคม 2554 (ICT) เขียนโดย คงศักดิ์ วิชชาวุธ 5204600121
<ref>ชื่อหนังสือ : คู่มือการเพาะเลี้ยง ปลาน้ำจืดเศรษฐกิจ เล่ม 2 ผู้เขียน - อภิชาติ ศรีสอาด สิงหาคม 2552</ref>