ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หอยเสียบ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Pubat (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 14:
| binomial_authority =
}}
 
 
 
'''หอยเสียบ''' (''Pharella javanica'') บางแห่งอาจเรียก หอยมีดโกน หอยเสียบ หอยเสียบทราย ชื่อสามัญ : Razor clam, Knife jacked clam, Cultellus clam บางครั้งอาจจะทำให้สับสนซึ่งชื่อตามภาษาไทยในท้องถิ่น เหมือนกันกับหอยเสียบ (หอยเสียบทราย)ที่มีชื่อสามัญ Donax wedge shell หรือ Pacific bean donex ซึ่งแท้ที่จริงแล้วอยู่ต่างจำพวกกัน
 
 
== ข้อมูลทั่วไป ==
'''หอยเสียบ'''เป็นหอยจำพวก[[ชั้นไบวาลเวีย|กาบคู่]] ตัวเล็ก เปลือกบาง ความยาวประมาณ 5-7 เซนติเมตร
[[ไฟล์:หอยเสียบ.JPG|thumb|300px|right|ภาพ:หอยเสียบ]]
เส้น 27 ⟶ 25:
 
 
== การรับประทาน ==
== ประโยชน์ ==
เนื้อใช้รับประทาน นิยม นำมาแกะเปลือกเอาเนื้อทำหอยแห้ง ผัด แกง ส่วนเปลือกบดผสมลงใน[[อาหารสัตว์]]
 
== การอยู่อาศัย ==
เนื้อใช้รับประทาน นิยม นำมาแกะเปลือกเอาเนื้อทำหอยแห้ง ผัด แกง ส่วนเปลือกบดผสมลงใน[[อาหารสัตว์]]
หอยชนิดนี้พบได้บริเวณชายหาดที่มีโคลนเหมาะแก่การอยู่อาศัย ในจังหวัดเพชรบุรี ตั่งแต่บริเวณตำบล บางขุนไทรถึงแหลมหลวง โดยเป็นแหลมยื่นไปในทะเลเป็นแนวเขตแบ่งทะเลกับหาดทรายและหาดโคลน
โดยส่วนมากจะอาศัยในพื้นกระซ้าผสมโคลนตมที่อยู่ในทะเล โดยในอดีตการเก็บหอยเริ่มต้นจากการชาวบ้านมาหาหอยแคงที่มีอยู่ตามหาดโคลนชายฝั่ง
 
==วิธีการเก็บหอย==
จะเริ่มการเก็บหอย บริเวณน้ำแห้งหลังจากที่น้ำลงแล้วจะปรากฏรูของหอย ซึ่งมักจะออกมาหาหอยเป็นอาหารเลี้ยงครอบครัวในช่วงหลังฤดูทำนาอันเป็นอาชีพหลักในสมัยก่อน
 
แต่ได้มีการเล่าว่าชาวนาจากบ้านนาบัว (ทุ่งบางแก้วในอดีต)ในตำบลบางแก้ว ใช้คานหลาว ซึ่งเป็นอุปกรณ์แทงมัดข้าวเปลื่อกฟ่อนก่อนเอาไปนวด เอามาใช้หาบหอย ต่อมาคานหลาวนั้นได้หักลง จึงได้ใช้คานหลาวที่เป็นไม้ไผ่แทงลงพื้นดินทะเล ปรากฏว่า พบหอยเสียบเป็นจำนวนมาก จึงทำให้ผู้มาหาหอยเสียบ ทำไม้ปลายแหลมเช่นเดียวกับปลายของคานเหลาวมาขุดแทงเพื่อเก็บหอย ความที่เป็นไม้ไผ่จึงไม่คงทน จึงทำให้ต่างคนต่างก็คิดดัดแปลงมาเป็นเหล็ก จึงได้มี
 
ลักษณะเป็น '''หอก''' โดยนำมาใช้ขุดหอย จึงเป็นที่มาของอุปกรณ์หาหอยในพื้นที่กับหอยชนิดนี้ นอกจากหอยเสียบแล้วยังใช้หา[[หอยปากเป็ด]] [[หอยหลอด]] ได้อีกด้วย <ref>ยุกตนันท์ จำปาเทศ. 2545. รายงานการใช้ทรัพยากรท้องถิ่นของคนชายเล. มหาวิทยาลัยเกษตรสาสตร์. จังหวัดนครปฐม </ref>
== การหาหอย ==
หอยชนิดนี้พบในชายหาดที่มีโคลนที่พอเหมาะแก่การอยู่อาศัย ในจังหวัดเพชรบุรี ตั่งแต่บางขุนไทรถึงแหลมหลวง ที่มียอดแหลมยื่นไปในทะเลเป็นแนวเขตแบ่งทะเลหาดทรายกับหาดโคลน แล้วอาศัยในพื้นกระซ้าผสมโคลนตมที่อยู่ในทะเล โดยในอดีตการเก็บหอยเริ่มต้นจากการชาวบ้านมาหาหอยแคงที่มีอยู่ตามหาดโคลนชายฝั่ง ลักษณะชายฝั่งทะเลในพื้นที่นี้ยามน้ำลดจะคอดแห้งออกจากชายฝั่งไปได้ไกล เกือบ 2 กิโลเมตร ซึ่งมักจะออกมาหาหอยเป็นอาหารเลี้ยงครอบครัวในช่วงหลังฤดูทำนาอันเป็นอาชีพหลักในสมัยก่อน แต่ได้มีการเล่าว่าชาวนาจากบ้านนาบัว (ทุ่งบางแก้วในอดีต)ในตำบลบางแก้ว ใช้คานหลาว ซึ่งเป็นอุปกรณ์แทงมัดข้าวเปลื่อกฟ่อนก่อนเอาไปนวด เอามาใช้หาบหอย ต่อมาคานหลาวนั้นได้หักลง จึงได้ใช้คานหลาวที่เป็นไม้ไผ่แทงลงพื้นดินทะเล ปรากฏว่า พบหอยเสียบเป็นจำนวนมาก จึงทำให้ผู้มาหาหอยเสียบ ทำไม้ปลายแหลมเช่นเดียวกับปลายของคานเหลาวมาขุดแทงเพื่อเก็บหอย ความที่เป็นไม้ไผ่จึงไม่คงทน จึงทำให้ต่างคนต่างก็คิดดัดแปลงมาเป็นเหล็ก จึงได้มีลักษณะเป็น '''หอก''' โดยนำมาใช้ขุดหอย จึงเป็นที่มาของอุปกรณ์หาหอยในพื้นที่กับหอยชนิดนี้ นอกจากหอยเสียบแล้วยังใช้หา[[หอยปากเป็ด]] [[หอยหลอด]] ได้อีกด้วย <ref>ยุกตนันท์ จำปาเทศ. 2545. รายงานการใช้ทรัพยากรท้องถิ่นของคนชายเล. มหาวิทยาลัยเกษตรสาสตร์. จังหวัดนครปฐม </ref>
 
== ดูเพิ่ม ==