ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โคลงโลกนิติ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
moveCategory
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
เปลี่ยนไปใช้เลขอารบิก
บรรทัด 3:
|ประเภท = [[โคลงสุภาษิต]]
|คำประพันธ์ = [[โคลงสี่สุภาพ]]
|ความยาว = ๔๐๘408 บท (สมุดไทย) <br> ๔๓๕435 บท (จารึกวัดโพธิ์ฯ) <br> ๙๑๑911 บท (ฉบับหอสมุดแห่งชาติ) <br> ๙๐๒902 บท (ฉบับกรมวิชาการ)
|สมัย = [[รัตนโกสินทร์]]|[[ต้นรัตนโกสินทร์]]
|ปี = [[พ.ศ. 2374|พ.ศ. ๒๓๗๔2374]]
|ชื่ออื่น = ประชุมโคลงโลกนิติ
|ลิขสิทธิ์ = -
บรรทัด 14:
เนื้อหาในโคลงโลกนิติจึงมุ่งแสดงความจริงของโลกและสัจธรรมของชีวิต เพื่อให้ผู้อ่านได้รู้เท่าทันต่อโลก และเข้าใจในความเป็นไปของชีวิต พร้อมเป็นแม่แบบเพื่อให้ผู้อ่านได้ดำเนินชีวิตไปในทางที่ถูกต้องดีงามสืบไป
 
โคลงโลกนิติมีความไพเราะเหมาะสมทั้งด้านรูปแบบและเนื้อหาปรัชญาสาระ ครบคุณค่าทางวรรณกรรม ทำให้เป็นที่แพร่หลายในหมู่คนทั่วไป บางท่านกล่าวยกย่องโคลงโลกนิติว่าเป็น ''อมตะวรรณกรรมคำสอน'' หรือ ''ยอดสุภาษิตอมตะ''<ref>''สุปาณี พัดทอง, "โคลงโลกนิติ" อมตะวรรณกรรมคำสอน''</ref>, ได้รับคัดเลือกจาก[[กระทรวงศึกษาธิการ]]ให้เป็นบทอ่านใน[[หนังสือแบบเรียน]]สำหรับนักเรียนนักศึกษาอยู่ทุกยุคสมัย และได้รับการจัดให้เป็นหนึ่งใน[[หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่าน|หนังสือดี ๑๐๐100 เล่มที่คนไทยควรอ่าน]]
 
==ประวัติ==
บรรทัด 21:
 
* '''ศิลาจารึกวัดพระเชตุพนฯ'''
ต่อมาในสมัย[[รัตนโกสินทร์]] เมื่อ[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ปฏิสังขรณ์[[วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม]] (วัดโพธิ์ฯ) ในปี [[พ.ศ. 2374|พ.ศ. ๒๓๗๔2374]] ก็มีดำริให้จารึกวิชาการสาขาต่างๆ ไว้บนแผ่นศิลาที่ประดับไว้ตามเสาหรือกำแพงพระวิหาร ในการนี้จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอกรมขุนเดชอดิศร (ต่อมาได้ดำรงพระยศเป็น [[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเดชาดิศร]]) ทรงชำระโคลงโลกนิติของเก่าให้ประณีตไพเราะยิ่งขึ้น เพื่อจารึกไว้ในคราวเดียวกัน
 
จำนวนโคลงโลกนิติที่ปรากฏต้นฉบับในสมุดไทยมีทั้งสิ้น ๔๐๘408 บท แต่ที่จารึกไว้ในวัดพระเชตุพนฯ แผ่นละบท มี ๔๓๕435 แผ่น (รวมโคลงนำ 2 บท) คาดว่ามีโคลงที่แต่งเพิ่มเติมเพื่อให้พอดีกับพื้นที่จารึก
 
* '''สำนวนอื่น'''
** ปี [[พ.ศ. 2385|พ.ศ. ๒๓๘๕2385]] โลกนิติคำฉันท์ แต่งเป็น[[คำฉันท์]]โดย [[ขุนสุวรรณสารวัด]]
** ปี [[พ.ศ. 2428|พ.ศ. ๒๔๒๘2428]] โลกนิติคำโคลง อีกสำนวน เข้าใจว่าแต่งโดย [[พระยาศรีสุนทรโวหาร]] (น้อย อาจารยางกูร)
 
* '''ฉบับชำระ'''
ภายหลังมีการรวบรวม สอบทาน และจัดพิมพ์เผยแพร่โคลงโลกนิติ ดังนี้
** '''หนังสือสอนอ่านฯ สุภาสิตโลกนิติ์คำโคลง'''
รวบรวม สอบทาน และจัดพิมพ์โดย[[กรมศึกษาธิการ]] [[กระทรวงธรรมการ]] เมื่อปี [[พ.ศ. 2447|พ.ศ. ๒๔๔๗2447]] เพื่อใช้เป็นหนังสือแบบเรียนสำหรับนักเรียน โดยนำโคลงที่สมเด็จฯ กรมพระยาเดชาดิศร ทรงชำระไว้ ๔๐๘408 บท ที่ปรากฏในต้นฉบับสมุดไทย (รวมโคลงนำ 2 บท โคลงส่งท้าย 2 บท และโคลงที่ซ้ำกันอยู่ 5 บท) มาพิมพ์ร่วมกับโคลงอีก ๓๐30 บท ที่พบในแผ่นศิลาวัดพระเชตุพนฯ
** '''ประชุมโคลงโลกนิติ ฉบับหอสมุดแห่งชาติ'''
[[หอสมุดแห่งชาติ]]จัดพิมพ์โคลงโลกนิติที่เป็นพระนิพนธ์ของสมเด็จฯ กรมพระยาเดชาดิศร ร่วมกับโคลงโลกนิติสำนวนเก่าที่มีการค้นพบเป็นจำนวนมากจาก[[หอพระสมุดวชิรญาณ]] พร้อมระบุคาถาอันเป็นที่มาของโคลง และจัดรวบรวมกันเป็นชุดๆ ได้โคลงภาษิตรวม ๕๙๓593 ชุด จำนวน ๙๑๑911 บท (ไม่รวมโคลงนำ 2 บท และโคลงส่งท้าย 2 บท) พิมพ์เผยแพร่ครั้งแรกเมื่อปี [[พ.ศ. 2460|พ.ศ. ๒๔๖๐2460]]
** '''ประชุมโคลงโลกนิติ ฉบับกรมวิชาการ'''
เป็นฉบับที่[[คณะกรรมการคัดสรรและเผยแพร่วรรณกรรมของชาติ]] [[กรมวิชาการ]] กระทรวงศึกษาธิการ นำต้นฉบับ หนังสือสอนอ่านฯ สุภาสิตโลกนิติ์คำโคลง และ ประชุมโคลงโลกนิติ ฉบับหอสมุดแห่งชาติ มาสอบทาน แก้ไขอักขระ ตัดโคลงที่ซ้ำซ้อน เพิ่มเติมคาถา จัดทำคำอธิบายศัพท์ และจัดหมวดหมู่ใหม่ในโคลงบางชุด ทำให้ได้โคลงภาษิตรวม ๕๙๔594 ชุด จำนวน ๙๐๒902 บท (รวมโคลงนำ 2 บท และโคลงส่งท้าย 4 บท) พิมพ์เผยแพร่ครั้งแรกเมื่อปี [[พ.ศ. 2543|พ.ศ. ๒๕๔๓2543]]
 
* '''ฉบับคัดลอก''' ที่น่าสนใจ เช่น
** [[กระทรวงศึกษาธิการ]] คัดโคลงบางบท บรรจุลงเป็นบทเรียนอ่านหนึ่งใน [[หนังสือแบบเรียน วิชาภาษาไทย]] ระดับมัธยมศึกษา
** [[โคลงโลกนิติ ฉบับถอดความ]] ถอดความโดย นาวาเอก [[ทองย้อย แสงสินชัย]] อ้างจาก ศิลาจารึกวัดพระเชตุพนฯ ทั้ง ๔๓๕435 บท แต่ละบทประกอบด้วย บทโคลง, บทแปลคำศัพท์, บทถอดความ
 
== รูปแบบของหนังสือประชุมโคลงโลกนิติ ==
[[ไฟล์:lokaniti meeting.jpg|200px|right|thumb|ประชุมโคลงโลกนิติ ฉบับกรมวิชาการ]]
หนังสือประชุมโคลงโลกนิติ<ref>ในที่นี้เป็นรูปแบบตามหนังสือประชุมโคลงโลกนิติ ฉบับกรมวิชาการ</ref> ขึ้นต้นด้วยโคลงนำ 2 บท คือ
{|align="center"
|&nbsp;
บรรทัด 90:
 
;ตัวอย่าง
โคลงชุดที่ ๑๗๐170 เป็นดังนี้
{|align="center"
|&nbsp;
|-
|170.
|๑๗๐.
|-
|ปฐพฺยา มธุรา ติณี
บรรทัด 149:
 
* '''[[โลกนิติคำฉันท์]]'''
ประพันธ์โดย[[ขุนสุวรรณสารวัด]] เมื่อปี [[พ.ศ. 2385|พ.ศ. ๒๓๘๕2385]] เป็น[[ฉันท์|คำฉันท์]]จำนวน ๒๖๕265 บท ตามคาถาของคัมภีร์โลกนิติ
 
* '''โคลงโลกนิติ จากหนังสือวชิรญาณ เล่ม 2 จ.ศ. ๑๒๔๗1247'''
เป็นการรวบรวมคัมภีร์โลกนิติ ฉบับภาษาบาลี ซึ่งมี 7 [[กัณฑ์]] โคลงโลกนิติ พระนิพนธ์ของสมเด็จฯ พระยาเดชาดิศร และโคลงโลกนิติ ที่เข้าใจว่าเป็นสำนวนของ[[พระยาศรีสุนทรโวหาร]] (น้อย อาจารยางกูร) เข้ามารวมพิมพ์ไว้ในเล่มเดียวกัน
 
* '''[[โลกนิติไตรพากย์]]''' หรือ '''โลกนิติคารม'''
ประพันธ์และเรียบเรียงโดย[[พระสารประเสริฐ]] (ตรี นาคะประทีป) โดยจัดทำเป็น 3 ภาษา คือ ภาษาบาลี [[ภาษาไทย]] และ[[ภาษาอังกฤษ]] จำแนกเนื้อหาออกเป็น 7 กัณฑ์ ตามคัมภีร์โลกนิติ รวมมีทั้งสิ้น ๑๖๗167 คาถา พิมพ์เผยแพร่ครั้งแรกเมื่อปี [[พ.ศ. 2461|พ.ศ. ๒๔๖๑2461]]
 
* '''[[โลกนิติปกรณ์]]'''
ถอดคำประพันธ์ของคัมภีร์โลกนิติทั้ง 7 กัณฑ์ ออกเป็น[[ร้อยแก้ว]]ภาษาไทย โดย [[แสง มนวิทูร]] มีทั้งสิ้น ๑๕๘158 คาถา
 
* '''โลกนิติ - สุตวัฑฒนนีติ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน'''
[[ราชบัณฑิตยสถาน]]ได้ชำระและแปลคัมภีร์โลกนิติและ[[คัมภีร์สุตวัฑฒนนีติ]] ออกเป็น 4 ภาษา คือ ภาษาบาลี ภาษาบาลีเขียนเป็น[[อักษรโรมัน]] ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ รวมมีทั้งสิ้น ๑๖๗167 คาถา พิมพ์เผยแพร่ครั้งแรกเมื่อปี [[พ.ศ. 2540|พ.ศ. ๒๕๔๐2540]]
 
== เชิงอรรถ ==