ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chen Zhaofu (คุย | ส่วนร่วม)
Chen Zhaofu (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 5:
 
== สาระสำคัญ ==
(1). รัฐธรรมนูญฉบับนี้มีทั้งหมด 39 มาตรา. มีการจัดวางโครงสร้างอำนาจ ออกเป็น 4 ส่วน ได้แก่ อำนาจของกษัตริย์, อำนาจของสภาผู้แทนราษฎร, อำนาจของคณะกรรมการราษฎร, และ อำนาจศาล.
 
(2). อำนาจของกษัตริย์ คือ เป็นประมุขสูงสุดของประเทศ ซึ่งการตราพระราชบัญญัติ และการวินิจฉัยคดีของศาล จะกระทำในนามของกษัตริย์. แต่ถ้ากษัตริย์ไม่สามารถจะทำหน้าที่ได้ หรือ ไม่อยู่ในพระนคร ให้เป็นอำนาจของ คณะกรรมการราษฎร ที่จะทำหน้าที่แทน. การกระทำใดๆของกษัตริย์ ต้องได้รับความยินยอมของคณะกรรมการราษฎร และมีกรรมการราษฎร ผู้หนึ่งผู้ใด ลงนามด้วย.
(3) อำนาจของสภาผู้แทนราษฎร คือ มีอำนาจออกพระราชบัญญัติ ซึ่งหากกษัตริย์ได้ประกาศให้ใช้แล้ว เป็นอันบังคับใช้ได้ แต่หากกษัตริย์ มิได้ประกาศใช้พระราชบัญญัตินั้นใน 7 วัน และสภาผู้แทนราษฎร ลงมติยืนตามมติเดิม ให้ถือว่าพระราชบัญญัตินั้น ใช้บังคับเป็นกฎหมายได้. อนึ่ง สภาผู้แทนราษฎร มีอำนาจถอดถอน กรรมการราษฎร หรือ พนักงานรัฐบาลผู้หนึ่งผู้ใด ก็ได้.
 
(4) นับแต่วันใช้รัฐธรรมนูญนี้ ไปจนกว่า จำนวนราษฎรทั่วพระราชอาณาเขต ได้สอบไล่ระดับประถมศึกษา เกินกว่าครึ่ง และไม่เกิน 10 ปี จึงจะมีสมาชิกสภาผู้แทน ที่ราษฎร ได้เลือกตั้งขึ้นเอง แต่ในระยะเวลา 6 เดือน หรือ จนกว่าการจัดประเทศ เป็นปกติเรียบร้อย ให้ "คณะราษฎร" จัดตั้ง "ผู้แทนราษฎรชั่วคราว" จำนวน 70 นาย เป็นสมาชิกในสภา หลังจากนั้น ให้ราษฎรเลือกผู้แทน จังหวัดละ 1 คน เว้นแต่ จังหวัดที่มีราษฎรเกินกว่า 100,000 คน ให้มีผู้แทน เพิ่มขึ้นอีก 1 คน และถ้ามีเศษเกินครึ่ง ก็ให้มีผู้แทน เพิ่มขึ้นอีก 1. ทั้งนี้ ให้ "สมาชิกสภา" ที่เป็นอยู่ก่อนหน้า 70 คนนั้น เป็น "สมาชิกประเภทที่ 2" และให้มีจำนวนเท่ากับ "สมาชิกสภาที่ราษฎรได้เลือกมา" กล่าวคือถ้าจำนวนเกิน ให้เลือกกันเอง ว่าผู้ใดจะได้อยู่ต่อ แต่ถ้าจำนวนขาด ให้เลือกบุคคลใดๆเข้าแทนจนครบ. ผู้ที่จะได้รับเลือกตั้งโดยราษฎร เพื่อเข้ามาเป็น "สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ประเภทที่ 1" ต้อง สอบไล่วิชาการเมืองตามหลักสูตรที่สภา (70 คน) จะได้ตั้งขึ้น, มีอายุ 20 ปีบริบูรณ์, ไม่เป็นผู้ไร้ หรือ เสมือนไร้ความสามารถ, ไม่ถูกศาลเพิกถอนสิทธิในการรับเลือก, มีสัญชาติไทย, และได้รับการเห็นชอบจาก "สภา 70" ว่า จะไม่นำมาซึ่งความไม่สงบเรียบร้อย. ทั้งนี้ ให้ราษฎรในหมู่บ้าน เลือก ผู้แทน เพื่อออกเสียง เลือกผู้แทนตำบล แล้วให้ผู้แทนตำบล เลือกสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร หรือ เป็นการ "เลือกตั้งทางอ้อม". สมาชิกสภา "ประเภทที่ 1" ที่มาจากการเลือกตั้งทางอ้อมนี้ ให้อยู่ในตำแหน่ง คราวละ 4 ปี และจะเป็นได้แค่ 2 สมัย. ส่วนผู้ที่มีสิทธิออกเสียงเลือกตั้ง ต้องมีอายุครบ 20 ปีบริบูรณ์, ไม่เป็นผู้ไร้ หรือ เสมือนไร้ความสามารถ, ไม่ถูกศาลพิพากษาให้เสียสิทธิในการออกเสียง และ มีสัญชาติไทย.
(3). อำนาจของสภาผู้แทนราษฎร คือ มีอำนาจออกพระราชบัญญัติ ซึ่งหากกษัตริย์ได้ประกาศให้ใช้แล้ว เป็นอันบังคับใช้ได้ แต่หากกษัตริย์ มิได้ประกาศใช้พระราชบัญญัตินั้นใน 7 วัน และสภาผู้แทนราษฎร ลงมติยืนตามมติเดิม ให้ถือว่าพระราชบัญญัตินั้น ใช้บังคับเป็นกฎหมายได้. อนึ่ง สภาผู้แทนราษฎร มีอำนาจถอดถอน กรรมการราษฎร หรือ พนักงานรัฐบาลผู้หนึ่งผู้ใด ก็ได้.
(5) คณะกรรมการราษฎร มีอำนาจหน้าที่ดำเนินการตามวัตถุประสงค์ของสภา. ทั้งนี้ ให้เสนาบดีกระทรวงต่างๆ รับผิดชอบต่อ คณะกรรมการราษฎร. คณะกรรมการราษฎร จะมีประธาน 1 คน และมีกรรมการอีก 14 คน. ทั้งนี้ ให้สภา เลือกสมาชิกในสภา เพื่อมาทำหน้าที่ประธารกรรมการราษฎร และให้ประธานกรรมการ เลือกกรรมการราษฎร อีก 14 คน.
 
(4). นับแต่วันใช้รัฐธรรมนูญนี้ ไปจนกว่า จำนวนราษฎรทั่วพระราชอาณาเขต ได้สอบไล่ระดับประถมศึกษา เกินกว่าครึ่ง และไม่เกิน 10 ปี จึงจะมีสมาชิกสภาผู้แทน ที่ราษฎร ได้เลือกตั้งขึ้นเอง แต่ในระยะเวลา 6 เดือน หรือ จนกว่าการจัดประเทศ เป็นปกติเรียบร้อย ให้ "คณะราษฎร" จัดตั้ง "ผู้แทนราษฎรชั่วคราว" จำนวน 70 นาย เป็นสมาชิกในสภา หลังจากนั้น ให้ราษฎรเลือกผู้แทน จังหวัดละ 1 คน เว้นแต่ จังหวัดที่มีราษฎรเกินกว่า 100,000 คน ให้มีผู้แทน เพิ่มขึ้นอีก 1 คน และถ้ามีเศษเกินครึ่ง ก็ให้มีผู้แทน เพิ่มขึ้นอีก 1. ทั้งนี้ ให้ "สมาชิกสภา" ที่เป็นอยู่ก่อนหน้า 70 คนนั้น เป็น "สมาชิกประเภทที่ 2" และให้มีจำนวนเท่ากับ "สมาชิกสภาที่ราษฎรได้เลือกมา" กล่าวคือถ้าจำนวนเกิน ให้เลือกกันเอง ว่าผู้ใดจะได้อยู่ต่อ แต่ถ้าจำนวนขาด ให้เลือกบุคคลใดๆเข้าแทนจนครบ. ผู้ที่จะได้รับเลือกตั้งโดยราษฎร เพื่อเข้ามาเป็น "สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ประเภทที่ 1" ต้อง สอบไล่วิชาการเมืองตามหลักสูตรที่สภา (70 คน) จะได้ตั้งขึ้น, มีอายุ 20 ปีบริบูรณ์, ไม่เป็นผู้ไร้ หรือ เสมือนไร้ความสามารถ, ไม่ถูกศาลเพิกถอนสิทธิในการรับเลือก, มีสัญชาติไทย, และได้รับการเห็นชอบจาก "สภา 70" ว่า จะไม่นำมาซึ่งความไม่สงบเรียบร้อย. ทั้งนี้ ให้ราษฎรในหมู่บ้าน เลือก ผู้แทน เพื่อออกเสียง เลือกผู้แทนตำบล แล้วให้ผู้แทนตำบล เลือกสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร หรือ เป็นการ "เลือกตั้งทางอ้อม". สมาชิกสภา "ประเภทที่ 1" ที่มาจากการเลือกตั้งทางอ้อมนี้ ให้อยู่ในตำแหน่ง คราวละ 4 ปี และจะเป็นได้แค่ 2 สมัย. ส่วนผู้ที่มีสิทธิออกเสียงเลือกตั้ง ต้องมีอายุครบ 20 ปีบริบูรณ์, ไม่เป็นผู้ไร้ หรือ เสมือนไร้ความสามารถ, ไม่ถูกศาลพิพากษาให้เสียสิทธิในการออกเสียง และ มีสัญชาติไทย.
 
(5). คณะกรรมการราษฎร มีอำนาจหน้าที่ดำเนินการตามวัตถุประสงค์ของสภา. ทั้งนี้ ให้เสนาบดีกระทรวงต่างๆ รับผิดชอบต่อ คณะกรรมการราษฎร. คณะกรรมการราษฎร จะมีประธาน 1 คน และมีกรรมการอีก 14 คน. ทั้งนี้ ให้สภา เลือกสมาชิกในสภา เพื่อมาทำหน้าที่ประธารกรรมการราษฎร และให้ประธานกรรมการ เลือกกรรมการราษฎร อีก 14 คน.
(อ้างอิง : ชาญวิทย์ เกษตรศิริ และ ธำรงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์, ปฏิวัติ 2475, พิมพ์ครั้งที่ 2 (กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 2552), น. 501-507).