ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การบริหารรัฐกิจ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3:
'''การบริหารรัฐกิจ''' หรือ '''รัฐประศาสนศาสตร์''' ({{lang-en|public administration}}) หรือชื่ออื่นเช่น ''การบริหารภาครัฐ, การบริหารจัดการภาครัฐ, การจัดการภาครัฐ, การบริหารราชการ, การบริหารราชการแผ่นดิน'' คือการดำเนินการทั้งปวงของฝ่ายบริหาร ยกเว้นอำนาจของฝ่ายนิติบัญญัติและตุลาการ โดยมีจุดมุ่งหมายให้นโยบายของรัฐที่วางไว้บรรลุผล อาจมองได้ทั้งเป็นการปฏิบัติการและการเป็นสาขาวิชาหนึ่งในการบริหารและการจัดการภาครัฐ ที่จะไม่เหมือนการบริหารธุรกิจที่เน้นกำไรสูงสุด (profit maximize) แต่เป็นการเน้นการให้บริการที่ให้ลูกค้าพึงพอใจ โดยลูกค้าก็คือ ประชาชนที่มาใช้บริการ และต้องเป็นการให้บริการต่อทุกคนอย่างเป็นธรรม
 
สำหรับ'''สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์''' คือ การเรียนการสอนวิชาในด้านการบริหารรัฐกิจ การบริหารและการจัดการภาครัฐ ในประเทศไทยมีหลายสถาบันอุดมศึกษาเปิดสอน ทั้งนี้การสังกัดหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร์มีอยู่ในหลากหลายลักษณะ อาทิ สังกัดอยู่ภายใต้ชื่อคณะโดยตรง เช่น [[สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์]] สังกัดอยู่ภายใต้ชื่อคณะรัฐศาสตร์ เช่น [[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] [[มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]] คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ [[มหาวิทยาลัยเชียงใหม่]] สังกัด[[ภาควิชารัฐศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ เช่น[[มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ]](มศว) สังกัดภาควิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ เช่น [[มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์]] ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะวิทยาการจัดการ [[มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์]]
 
นอกจากนี้แล้วยังมีการสังกัดในลักษณะของภาควิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องหรือวิทยาลัยเฉพาะ เช่น [[มหาวิทยาลัยทักษิณ]] ที่เปิดสอนหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร์ สังกัดภาควิชาสังคมศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และ [[วิทยาลัยการจัดการเพื่อการพัฒนา มหาวิทยาลัยทักษิณ]] หรือ U-MDC มีหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร์ ทั้งในสาขาการบริหารงานตำรวจและกระบวนการยุติธรรม สาขาการจัดการ ฯลฯ ซึ่งสถาบันอุดมศึกษาดังกล่าวมีการจัดหลักสูตรเพื่อเปิดสอนตั้งแต่ระดับบัณฑิต มหาบัณฑิต และดุษฎีบัณฑิต ทั้งในลักษณะภาคปกติ ภาคสมทบ ภาคพิเศษ หรือโครงการความร่วมมือกับส่วนราชการ ภาคเอกชน ฯลฯ