ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฟรันซิสโก ฆาบิเอร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Woojindo (คุย | ส่วนร่วม)
Woojindo (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 74:
ฟรันซิสโก ฆาเบียร์ กลับมายังยะมะงุชิอีกครั้ง และเขาได้รับการรับรองว่าจะไม่เบียดเบียนผู้เปลี่ยนศาสนาจากเจ้าชาย ในขณะนั้นผลงานของการประกาศศาสนาได้ปรากฏขึ้น ที่นั่นมีกลุ่มคาทอลิกเล็ก ผู้รับเชื่อที่นั่นจำมากเป็นซามูไร ซึ่งทำให้เกิดการขัดแย้งตระกูลบอนโซ
 
เดือนกันยายน ค.ศ. 1551 ฟรันซิสโกฆาเบียร์ถูกเรียกโดยเจ้าชายแห่งบุงโกและอนุญาตให้ประกาศศาสนาได้ทั่วเกาะ หนึ่งเดือนต่อมาฟรันซิสโกฆาเบียร์เดือนทางกลับอินเดีย เดือนทางโดยเรือ'''ซานตากรูซ'''โดยมีดิเอโก เปเรยดาเป็นกัปตันเรือ ซึ่งกัปตันผู้นี้เองเป็นผู้ออกึวามคิดเรื่องสถานเอกอัคครราชทูตโปรตุเกสในจีน เมื่อเขาเดือนทางถึงมะละกา เขาได้ทราบว่าอินเดียได้ถูกยกฐานะเป็นแขวงคณะเยสุอิตเอกเทศออกจากแขวงโปรตุเกสที่เขาสังกัดอยู่
 
24 มกราคม ค.ศ.1552 เดินทางถึงโคชิ และวันที่ 18 กุมภาพันธ์ก็เดินทางมาถึงกัว หลังจากที่แก้ปัญหาต่างๆเสร็จสิ้นแล้ว ฟรันซิสโกฆาเบียร์ออกเดินทางไปจีน วันที่ 14 เมษายน การเดินทางครั้งนี้มีผู้ร่วมทางคือคุณพ่อกาโก พี่ของอันโตนิโอ เฟเรยรา อันโตนิโอ เด ซานตาเฟ (เชื้อจายสีเชื้อสายจีน) และผู้รับใช้ชาวอินเดียนามกริสโตบาล ออกเรือจาก''ซานตากรูซ''โดยมีเปเรยดาเป็นกัปตันเรือ
 
เมื่อพวกเขาเดินทางมาถึงมะละกา มีปัญหากับ อัลบาโร เด อาไตเด ซึ่งเป็นผู้ควบคุมการเดินเรือ เขาพยายามไม่ให้เปเรยดาเป็นกัปตันเรือ ทำให้การเดินทางช้าไปสองเดือน เดินทางมาถีงเกาะซ้างชวน ปลายเดือนสิงหาคม ค.ศ.1552ถึงเป็นแหล่งค้าขายระหว่างจีนและโปรตุเกส
 
พวกเขารอเรือจีนเพื่อลักลอบเข้าประเทศจากที่นั่น และวันที่ 3 ธันวาคมของปีเดียว ฟรันซิสโกฆาเบียร์ได้เสียชีวิต ด้วยอายุ 46 ปี
 
ศพของเขามาถึงกัวในฤดูใบไม้ผลิ ค.ศ. 1554 และถูกฝังไว้ที่นั่น
[[หมวดหมู่:นักบุญ]]
{{โครงบุคคล}}
 
[[an:Sant Francisco Xabier]]
[[ar:فرنسيس كسفاريوس]]