ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นิจิเร็นโชชู"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pawadol (คุย | ส่วนร่วม)
Pawadol (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 13:
 
== เกี่ยวกับนิกาย ==
นิชิเรนโชชู เป็นนิกายดั้งเดิมของศาสนาพุทธแท้ของพระนิชิเรนไดโชนิน โดยมีสมาชิกอยู่ทั่วโลก วัดใหญ่ของนิชิเรนโชชู วัดไทเซขิจิ ได้ตั้งอยู่ที่เชิงเขาฟูจิ ประเทศญี่ปุ่น ชื่อของนิกายนี้คือ นิชิเรนโชชู แปลว่า "นิกายนิชิเรนดั้งเดิม" และ ในบางครั้งจะถูกเรียกว่า "นิกายฟูจิ" เพราะที่ตั้งของวัดใหญ่นั้นอยู่ที่เชิงเขาฟูจินั่นเอง นิชิเรนโชูมีความเชื่อเรื่อง มรดกแห่งหลักธรรม ซึ่งเป็นการส่งต่อแก่นแท้ของคำสอนศาสนาพุทธของพระนิชิเรนไดโชนิน ให้กับ [[พระนิกโค|พระสังฆราชนิกโค โชนิน]] ซึ่งเป็นสาวกคนสำคัญของพระนิชิเรนไดโชนิน ซึ่งได้ถูกเลือกโดยพระนิชิเรนไดโชนินให้เป็น พระสังฆราช ที่รับหน้าที่เผยแผ่หลักธรรมของศาสนาพุทธแท้ของพระนิชิเรนไดโชนินในสมัยปัจฉิมธรรม การส่งต่อมรดกแห่งหลักธรรมนี้ถูกส่งมอบให้กับบุคคลเพียงคนเดียว ตามที่ได้ถูกกล่าวไว้ในงานเขียนของพระนิชิเรนไดโชนิน เรื่อง "หนึ่งร้อยและหกบทความ"
นิกายนี้ยึดมั่นในคัมภีร์[[สัทธรรมปุณฑริกสูตร]]เป็นหลักโดยถือว่าพระสูตรนี้คือคำสอนที่แท้จริงของพระศากยมุนีพุทธะ พระสูตรอื่นๆเป็นเพียงกุศโลบายที่พระองค์ใช้เทศนาสรรพสัตว์เพื่อให้เข้าถึงพระสูตรนี้ในท้ายที่สุด โดยอธิบายว่าพระสูตรอื่นๆในช่วง42ปีแรกแห่งการเคลื่อนพระธรรมจักรของพระศากยมุนีคือ''คำสอนตามใจและสติปัญญาผู้ฟัง'' ส่วนสัทธรรมปุณฑริกสูตรที่พระองค์เทศนาในช่วง8ปีสุดท้ายแห่งพระชนม์ชีพคือ''คำสอนตามใจและสติปัญญาพระพุทธะเอง''
 
สิ่งสักการบูชาของนิชิเรนโชชู คือ ไดโงะฮนซน (โงะฮนซนที่ยิ่งใหญ่) โงะฮนซนทั้งหมดจะถูกคัดลอกโดยสมเด็จพระสังฆราชของนิชิเรนโชชู โดยทำการคัดลอกจากไดโงะฮนซน และสร้างความสัมพันธ์กับไดโงะฮนซนด้วยพิธีเปิดเนตรโงะฮนซนเหล่านี้ ต่อหน้าไดโงะฮนซน วัดใหญ่ไทเซขิจินั้นได้มีผู้นับถือนิชิเรนโชชูจากทั่วโลกเดินทางมานมัสการไดโงะฮนซนเป็นจำนวนมากทุกปี นิชิเรนโชชูมีวัดกว่า 700 วัดในประเทศญี่ปุ่น นอกจากนี้ยังมีวัดในต่างประเทศถึง 22 วัด โดยมี 6 วัดในสหรัฐอเมริกา 9 วัดในไต้หวัน 2 วัดในอินโดนีเซีย รวมไปถึง บราซิล ฝรั่งเศส สเปน สิงคโปร และ กานา
ฐานะของฆราวาสเคารพพระ[[ภิกษุ]]เปรียบเสมือนลูกศิษย์กับอาจารย์ และถือว่าฆราวาสก็สามารถบรรลุพุทธภาวะได้โดยไม่จำเป็นต้องอยู่ในเพศบรรพชิต นิกายนี้จึงเป็นพุทธศาสนาของฆราวาส พิธีกรรมต่างๆมีน้อย มีพระสังฆนายกเป็นประมุขฝ่ายสงฆ์ ปัจจุบันสืบทอดโดยตรงจากสมัยพระนิชิเรนไดโชนินมาเป็นลำดับที่ 68 คือ ''[[พระนิชิเนียว โชนิน]]''
 
นิชิเรนโชชูในปัจจุบันอยู่ภายใต้การนำของ [[พระนิชิเนียว โชนิน|สมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 68 พระนิชิเนียว โชนิน]] ซึ่งได้สืบทอดมรดกแห่งหลักธรรมมาตั้งแต่สมัยของพระนิกโค โชนิน โดยได้ส่งต่อมรดกนี้มาเป็นเวลา 750 ปี โดยไม่มีการขาดตกบกพรองหรือบิดเบือนแต่อย่างไร
นับแต่สมัย[[เมจิ]]พระสงฆ์ในญี่ปุ่นแต่งงานมีครอบครัวได้ นิกายนี้ก็เช่นกันแต่จะมีกฎเกณฑ์ที่เคร่งครัด ลูกของพระสงฆ์ต้องศึกษาทั้งธรรมะและสายสามัญจวบจนบรรลุนิติภาวะแล้วจึงมีสิทธิเลือกว่าจะบรรพชาเป็นภิกษุหรือออกไปใช้ชีวิตฆราวาส
 
พระสงฆ์นิชิเรนโชชู ได้แสดงให้เห็นถึงความแตกต่างจากพระสงฆ์ นิกายอื่นๆ โดยจะใส่เฉพาะจีวรสีเทาและขาว เท่านั้น ซึ่งเหมือนกับที่พระนิชิเรนไดโชนินได้สวมใส่ในขณะที่ท่านมีชีวิตอยู่
พระสงฆ์นิชิเรนโชชูไม่มีการออกบิณฑบาตหรือถูกอาราธนาเพื่อกิจใดๆ สานุศิษย์นิชิเรนโชชูจะเป็นผู้ทำบุญถวายเพื่อบำรุงศาสนจักร โดยเรียกว่าการ''โกกุโย่''
 
นิกายนี้ยึดมั่นในคัมภีร์[[สัทธรรมปุณฑริกสูตร]]เป็นหลักโดยถือว่าพระสูตรนี้คือคำสอนที่แท้จริงของพระศากยมุนีพุทธะ พระสูตรอื่นๆเป็นเพียงกุศโลบายที่พระองค์ใช้เทศนาสรรพสัตว์เพื่อให้เข้าถึงพระสูตรนี้ในท้ายที่สุด โดยอธิบายว่าพระสูตรอื่นๆในช่วง42ปีแรกแห่งการเคลื่อนพระธรรมจักรของพระศากยมุนีคือ''คำสอนตามใจและสติปัญญาผู้ฟัง'' ส่วนสัทธรรมปุณฑริกสูตรที่พระองค์เทศนาในช่วง8ปีสุดท้ายแห่งพระชนม์ชีพคือ''คำสอนตามใจและสติปัญญาพระพุทธะเอง''
เป้าหมายอีกประการคือมุ่งหวังให้ผู้คนในโลกนับถือคำสอนนี้ทั่วกันทุกคนซึ่งเรียกว่าบรรลุ ''โคเซ็นรูฝุ'' พระสงฆ์และฆราวาสจึงร่วมกันเผยแผ่ธรรมะโดยถือเป็นวัตรปฏิบัติอย่างหนึ่งเรียกว่า''ชากูบุกุ'' และมีการเยี่ยมเยียนบ้านผู้นับถือด้วยกันเพื่อสวดมนต์ร่วมกัน ศึกษาธรรมะร่วมกัน และหรือให้กำลังใจ ให้คำชี้นำในการปฏิบัติแก่ผู้นับถือใหม่
 
เป้าหมายอีกประการคือมุ่งหวังให้ผู้คนในโลกนับถือคำสอนนี้ทั่วกันทุกคนซึ่งเรียกว่าบรรลุ ''โคเซ็นรูฝุ'' พระสงฆ์และฆราวาสจึงร่วมกันเผยแผ่ธรรมะโดยถือเป็นวัตรปฏิบัติอย่างหนึ่งเรียกว่า''ชากูบุกุ'' และมีการเยี่ยมเยียนบ้านผู้นับถือด้วยกันเพื่อสวดมนต์ร่วมกัน ศึกษาธรรมะร่วมกัน และหรือให้กำลังใจ ให้คำชี้นำในการปฏิบัติแก่ผู้นับถือใหม่
นิชิเรนโชชูจะมีการรวมตัวกันเพื่อสวดมนต์ ศึกษาธรรมะอย่างน้อยเดือนละครั้งจนถึงสัปดาห์ละครั้ง ณ สมาคมผู้ปฏิบัติ และหรือเข้าฟังเทศนาธรรมะจากพระสงฆ์ในกรณีที่มีศูนย์กลางเผยแผ่ที่มีพระสงฆ์ประจำหรือวัดในพื้นที่นั้นๆ