ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปางบำเพ็ญทุกรกิริยา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Thanit (คุย | ส่วนร่วม)
Thanit (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 3:
'''ปางบำเพ็ญทุกรกิริยา''' เป็นชื่อเรียก[[พระพุทธรูป]]ลักษณะนั่งสมาธิ ลักษณะพระวรกายผ่ายผอมเห็นหนังติดกระดูก
==ประวัติความเป็นมา==
[[การบำเพ็ญทุกรกิริยา]] (กิริยาที่ทำได้โดยยาก ได้แก่การบำเพ็ญเพียรเพื่อบรรลุธรรมวิเศษ ด้วยวิธีการทรมานตนด้วยวิธีต่างๆ) เป็นวิธีของ[[โยคี]) หลังจากที่พระบรมโพธิสัตว์ (พระพุทธเจ้าเกิดขึ้นก่อนบรรลุธรรม)เมื่อพระองค์ทรงตั้งพระทัยที่จะพยายามคิดค้นคว้าแสวงหาความรู้ด้วยพระองค์เองศึกษาจนสำเร็จสมาบัติ 7 หลังจากทรงสำเร็จจากสำนักอาจารย์อาฬารดาบส กาลามโคตร และอุททกดาบสสมาบัติ 8 จากสำนักอุทกดาบส รามบุตร แล้ว พระองค์เริ่มและอุทกดาบสได้ตั้งพระบรมโพธิสัตว์ไว้ในตำแหน่งอาจารย์เสมอด้วยการทรมานพระวรกายตามวิธีการของโยคีตนเอง เรียกแต่พระบรมโพธิสัตว์เห็นว่าการบำเพ็ญทุกรกิริยาวิชาที่ศึกษามายังมิใช่หนทางแห่งโพธิญาณ จึงอำลาออกจากสำนัก ทรงแสวงหาหนทาง ตรัสรู้ด้วยพระองค์เอง ณ ตำบลอุรุเวลาเสนานิคม มีปัญจวัคคีย์ ทั้ง 5 (ได้แก่การกลั้นลมอัสสาสะปัสสาสะและอดอาหาร เป็นต้นโกณฑัญญะ ซึ่งพระพุทธเจ้าได้วัปปะ ภัททิยะ มหานามะ อัสสชิ เป็นอุปัฏฐาก พระบรมโพธิสัตว์ทรงกระทำทุกรกิริยา เช่น ลดอาหารลงทีละน้อยจนถึงงดเสวย ร่างกายซูบผอม พระโลมา ( ขน ปฏิบัติก่อนตรัสรู้) บริเวณริมแม่น้ำเนรัญชราและมีรากเน่าหลุดออกมา แลเห็นพระอัฐิได้ชัดเจน ไปทั่วพระวรกาย การกลั้นลมอัสสาสะปัสสาสะ ทรงบำเพ็ญทุกรกิริยาติดต่อกันเป็นเวลา 6 ปี จนมีพระวรกายผ่ายผอมแต่ก็ยังคงไม่ได้พบหนทางหลุดพ้นจาก ทุกข์ได้ เพราะเป็นการปฏิบัติฝ่าย[[อัตตกิลมถานุโยค]] ในที่สุดพระองค์จึงทรงเลิกการบำเพ็ญทุกรกิริยา
 
==ความเชื่อและคตินิยม==