ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Clumsily (คุย | ส่วนร่วม)
→‎ประวัติ: ภาษาวิบัติ
Clumsily (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 21:
[[พ.ศ. 2530]] โรงพยาบาลเปิดให้บริการประชาชนเป็นครั้งแรก เมื่อวันที่ [[5 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2530]] เพื่อถวายเป็นราชกุศลเนื่องในมหามงคลสมัยที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงมีพระชนมพรรษาครบ 5 รอบ
 
[[พ.ศ. 2531]] พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้[[สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี]] เสด็จแทนพระองค์ทรงประกอบพิธีเปิดโรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติอย่างเป็นทางการ ในวันที่ [[29 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2531]] โดยในระยะแรกมีเพียง 2 อาคารที่เปิดให้บริการรักษาพยาบาลแก่ประชาชนทั่วไปคือ '''อาคารหม่อมราชวงศ์สุวพรรณ สนิทวงศ์''' เปิดให้บริการรักษาพยาบาล[[ผู้ป่วยฉุกเฉิน]] [[ผู้ป่วยนอก]] และสำนักงานต่าง ๆ และ '''อาคารธนาคารทหารไทย''' เปิดให้บริการรักษาพยาบาล
* '''อาคารม.ร.ว.สุวพรรณ สนิทวงศ์''' เปิดให้บริการรักษาพยาบาล[[ผู้ป่วยฉุกเฉิน]] [[ผู้ป่วยนอก]] และสำนักงานต่างๆ
* '''อาคารธนาคารทหารไทย''' เปิดให้บริการรักษาพยาบาล
 
[[พ.ศ. 2533]] ได้มีพระราชกฤษฎีกาจัดตั้ง[[คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์|คณะแพทยศาสตร์]]<ref>ราชกิจจานุเบกษา. (2533). '''พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งส่วนราชการในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ทบวงมหาวิทยาลัย พ.ศ. 2533.''' [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2533/A/044/7.PDF]. (เข้าถึงเมื่อ: 15 กรกฎาคม 2553).</ref> ในวันที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2533 โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติจึงได้รับการรวมเข้ามาเป็น[[ส่วนราชการ]]หนึ่ง ซึ่งมีฐานะเทียบเท่าภาควิชา ของ[[คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์|คณะแพทยศาสตร์]] เช่นเดียวกับสถานวิทยาศาสตร์พรีคลินิก และสถานวิทยาศาสตร์คลินิก