ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มาระโกผู้นิพนธ์พระวรสาร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Clumsily (คุย | ส่วนร่วม)
Clumsily (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ป้ายเตือนปีคศ}}
{{กล่องข้อมูล นักบุญ
| ชื่อ =มาระโกผู้ประกาศข่าวประเสริฐ
| ชื่อ =มาร์คอีแวนเจลลิส
| ภาพ =Angelo Bronzino 008.jpg
| ขนาดภาพ =
| คำบรรยายภาพ =นักบุญมาร์คอีแวนเจลลิสมาระโกผู้ประกาศข่าวประเสริฐ โดย [[แอนเจโล บรอนซิโน]]
| หัวข้อ = ของขวัญจากพระเจ้า (Gift of God)
| วันเกิด =
บรรทัด 22:
| ผู้พิทักษ์ =ทนายความ, ([[เวนิส]]), และอื่นๆ
}}
'''นักบุญมาร์คอีแวนเจลลิส''' หรือ '''มาระโกผู้ประกาศข่าวประเสริฐ''' ([[ภาษาอังกฤษ]]: St. Mark the Evangelist; [[ภาษาฮีบรู]]: “מרקוס”; [[ภาษากรีก]]: “Μάρκος”) เป็นหนึ่งใน[[สี่อีแวนเจลลิสผู้ประกาศข่าวประเสริฐ]]ที่รวมทั้ง [[แม็ทธิวอีแวนเจลลิสมัทธิวผู้ประกาศข่าวประเสริฐ|แม็ทธิวมัทธิว]] [[จอห์นอีแวนเจลลิสยอห์นผู้ประกาศข่าวประเสริฐ|จอห์นยอห์น]] และ[[ลูคอีแวนเจลลิสลูกาผู้ประกาศข่าวประเสริฐ|ลูคลูกา]] ที่เชื่อกันว่าเป็นผู้ประพันธ์[[พระวรสารนักบุญมาร์คมาระโก]] (Gospel of Mark) ซึ่งเป็นเอกสารส่วนหนึ่งของ [[พันธสัญญาใหม่]] (New Testament) และเป็นเพื่อนกับ[[นักบุญปีเตอร์]] นักบุญมาร์คมาระโกได้ร่วมเดินทางกับ[[นักบุญพอล]]และ[[นักบุญบาร์นาบัส]]เมื่อนักบุญพอลเริ่มเดินทางไปเผยแพร่ศาสนาเป็นครั้งแรก หลังจากที่มีข้อขัดแย้งกัน นักบุญบาร์นาบัสก็แยกตัวจากนักบุญพอลโดยเอานักบุญมาร์คมาระโกไป[[ประเทศไซปรัส|ไซปรัส]]ด้วย (กิจการของสาวก 15:36-40) การแยกตัวครั้งนี้ทำให้เกิด[[พระวรสารนักบุญมาร์คมาระโก]]ขึ้น ต่อมานักบุญพอลเรียกตัวนักบุญมาร์คกลับมาระโกกลับมา ฉะนั้นนักบุญมาร์คมาระโกจึงกลับมาเป็นผู้ติดตามนักบุญพอลอีกครั้ง
 
นักบุญมาร์คมาระโกเชื่อกันว่าเป็น[[พระสันตะปาปา]]องค์แรกของเมืองอเล็กซานเดรียของนิกาย[[คอปติกออร์โธดอกซ์]]และนิกาย Greek Church of Alexandria และเป็นผู้วางรากฐานคริสต์ศาสนาใน[[ทวีปแอฟริกา]]
 
เช่นเดียวกับอีแวนเจลลิสผู้ประกาศข่าวประเสริฐอีกสามองค์นักบุญมาร์คมาระโกมักจะปรากฏในภาพเขียนทางคริสต์ศาสนาใช้สัญลักษณ์สิงโต ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ที่ทางสถาบันคริสต์ศาสนาตาม[[หนังสือแดเนียล]] 7 (Book of Daniel)
 
== ประวัติ ==
นักบุญมาร์คมาระโกเชื่อกันว่าเกิดที่เพ็นตโพลิส (Pentapolis) ทางทวีปแอฟริกาตอนเหนือ และเมื่อกลับไปหลังจากเดินทางไปเทศนากับนักบุญพอลที่โคลอสซี (Colosse)<ref>จดหมายเหตุของนักบุญพอล โคลอสเซียน 4:10</ref> และ โรม (ฟีเลโมน 24; ทิโมธี 2 4:11) จากเพ็นตโพลิสนักบุญมาร์คมาระโกก็เดินทางไปอเล็กซานเดรีย<ref>[http://www.suscopts.org/coptic-orthodox/church/saint-mark/ Suscopts]</ref>
 
อาจจะเป็นไปได้ว่าการใช้ชื่อ “มาร์ค”มาระโก” ในพันธสัญญาใหม่อาจจะหมายถึงคนหลายคน หรือคนหลายคนที่ว่าอาจจะเป็นคนคนเดียวกันก็ได้ ในการตีความหมาย, “จอห์นยอห์น มาร์ค”มาระโก” ใน “กิจการของสาวก” 12:12, 25, 15:37 กล่าวถึงเพียง “จอห์น”ยอห์น” ใน “กิจการของสาวก” 13:5, 13:13 และ “มาร์ค”มาระโก” ใน“กิจการของสาวก” 15:39 ซึ่งเป็นคนคนเดียวกันกับ “มาร์ค”มาระโก” ที่กล่าวถึงในจดหมายเหตุของนักบุญพอล โคลอสเซียน
[http://bible.crosswalk.com/OnlineStudyBible/bible.cgi?new=1&word=Col+4%3A10&section=0&version=str&language=en 4:10], ทิโมธี2 4:11, ฟีเลโมน 24 และ ปีเตอร์1 5:13. “มาร์ค”มาระโก” ในจดหมายเหตุของนักบุญพอลกล่าวว่าเป็นลูกพี่ลูกน้องของบาร์นาบัส (โคลอสเซียน 4:10) จึงเป็นสาเหตุที่อธิบายได้ถึงความผูกพันระหว่างมาร์คมาระโกกับบาร์นาบัสเมื่อมีเรื่องกับนักบุญพอล (กิจการของสาวก 15:37-40) แม่ของมาร์คมาระโกเป็นผู้นำทางคริสต์ศาสนาใน[[กรุงเยรูซาเลม]] บ้านของแม่ของมาร์คมาระโกเป็นที่เป็นที่พบปะของผู้ที่นับถือคริสต์ศาสนาและเป็นที่ที่นักบุญปีเตอร์ไปพักหลังจากที่ถูกปล่อยตัวจากคุก(กิจการของสาวก 12:12-17)
 
หลักฐานว่านักบุญมาร์คมาระโกเป็นผู้เขียนพระวรสารนักบุญมาร์คมาระโกมาจาก [[นักบุญพาเพียส]] (Papias)<ref>Harrington, Daniel J. (1990), "The Gospel According to Mark", in Brown, Raymond E.; Fitzmyer, Joseph A. & Murphy, Roland E., The New Jerome Biblical Commentary, Englewood Cliffs, NJ: Prentice Hall, pp. 596, ISBN 0-13-614934-0</ref> <ref>^ University of Navarre (1999), The Navarre Bible: Saint Mark’s Gospel (2nd ed.), Dublin: Four Court’s Press, pp. 55, ISBN 1-85182-092-2</ref>.
 
 
เรื่องเกี่ยวกับนักบุญมาร์คมาระโกมีด้วยกันหลายเรื่องแต่ไม่มีหลักฐานใดที่จะยืนยันเป็นที่แน่นอนได้ในพันธสัญญาใหม่ บางเรื่องก็ว่านักบุญมาร์คมาระโกเป็นคนรับใช้ในงานแต่งงานที่คานา (Marriage at Cana) ผู้ที่เทน้ำที่พระเยซูเสกให้เป็นไวน์ (จอห์นยอห์น 2:1-11) และยังเชื่อกันว่านักบุญมาร์คมาระโกเป็นหนึ่งในสาวก 70 คนที่พระเยซูส่งไป (ลูคลูกา 10) หรือเป็นคนรับใช้ที่แบกน้ำเข้ามาในบ้านระหว่าง[[พระกระยาหารค่ำมื้อสุดท้าย]]
(มาร์คมาระโก 14:13)<ref>University of Navarre (1999), The Navarre Bible: Saint Mark’s Gospel (2nd ed.), Dublin: Four Court’s Press, pp. 172, ISBN 1-85182-092-2</ref>;
หรือเป็นชายหนุ่มไม่นุ่งผ้าที่วิ่งหนีเมื่อพระเยซูถูกจับ (มาร์คมาระโก 14:51-52)<ref>University of Navarre (1999), The Navarre Bible: Saint Mark’s Gospel (2nd ed.), Dublin: Four Court’s Press, pp. 179, ISBN 1-85182-092-2</ref> และเป็นคนที่รับรองสาวกในบ้านหลังจากที่พระเยซูสิ้นพระชนม์และเป็นบ้านที่พระเยซูกลับมาหลังจากคืนชีพ (จอห์นยอห์น 20)
 
ที่[[ประเทศอียิปต์]] เชื่อกันว่านักบุญมาร์คอีแวนเจลลิสมาระโกผู้ประกาศข่าวประเสริฐสร้างปาฏิหาริย์ไว้หลายอย่าง ได้สร้างวัดที่นั่น และได้แต่งตั้งอาร์ชบิช็อปอันเนียนุสแห่งอเล็กซานเดรีย (Anianus of Alexandria) และพระตำแหน่งอื่นๆ เมื่อนักบุญมาร์คกลับมาระโกกลับมาอเล็กซานเดรีย ว่ากันว่าประชาชนที่นั่นไม่พอใจที่นักบุญมาร์คมาระโกพยายามสั่งสอนให้เลิกนับถือเทวรูปต่างๆ ที่เคยทำกันมา เมื่อปี ค.ศ. 67 ประชาชนก็จับนักบุญมาร์คมาระโกผูกกับม้าแล้วลากไปรอบเมืองจนนักบุญมาร์คมาระโกเสียชีวิต
 
[[ไฟล์:Folio 19v - The Martyrdom of Saint Mark.jpg|thumb|250px|การพลีชีพของนักบุญมาร์คมาระโก]]
 
== ร่างของนักบุญมาร์คมาระโก ==
เมื่อปี ค.ศ. 828 [[วัตถุมงคลในคริสต์ศาสนา|วัตถุมงคล]]ที่เชื่อกันว่าเป็นร่างของนักบุญมาร์คมาระโกถูกขโมยโดยพ่อค้าชาว[[เวนิส]]สองคนไปจากอเล็กซานเดรียเอาไปเวนิส ขณะนั้นในสมัยไบเซ็นไทน์เวนิสมีนักบุญทีโอดอร์เป็นนักบุญประจำเมือง แต่เมื่อได้ร่างของนักบุญมาร์คมาระโกมาทางเมืองเวนิสก็สร้างมหาวิหารใหญ่เป็นที่เก็บวัตถุมงคลของนักบุญมาร์คมาระโก ภายใน[[มหาวิหารเวนิส]]มีภาพโมเสกแสดงให้เห็นกลาสีคลุมร่างของนักบุญมาร์คมาระโกเป็นชั้นๆ ด้วยหมู จึงสามารถทำให้ลักลอบออกมาได้จากอียิปต์ได้เพราะชาว[[มุสลิม]]ห้ามแตะต้องหมู
 
นิกาย[[คอปติกออร์โธดอกซ์]]ยังเชื่อกันว่ากะโหลกของนักบุญมาร์คมาระโกยังอยู่ที่อเล็กซานเดรีย ทุกปีทุกวันที่ 30 ของเดือน Babah วัดคอปติกออร์โธดอกซ์ก็จะฉลองวันสถาปนาวัดเซ็นต์มาร์คเซ็นต์มาระโก และการปรากฏกะโหลกของนักบุญมาร์คมาระโกที่อเล็กซานเดรีย งานฉลองนี้ทำกันที่มหาวิหารเซ็นต์มาร์คมาระโกคอปติกออร์โธดอกซ์ที่เป็นที่เก็บหัวของนักบุญมาร์คมาระโก
 
เมื่อปี ค.ศ. 1063 ระหว่างการก่อสร้างมหาวิหารเซ็นต์มาร์คมาระโกที่เวนิส วัตถุมงคลของนักบุญมาร์คมาระโกก็หายไป แต่ตามที่เล่ากันในปี 1094 นักบุญมาร์คมาระโกเองมาปรากฏบอกที่ตั้งของวัตถุมงคลของท่านเอง<ref>{{cite book
|title=Venice and Its Story
|first=Thomas
บรรทัด 65:
* [[พันธสัญญาใหม่]]
* [[พระวรสาร]]
** [[พระวรสารนักบุญมาร์คมาระโก]]
* [[ผู้ประกาศข่าวประเสริฐทั้งสี่]]
* [[อีแวนเจลลิสทั้งสี่]]
** [[นักบุญแม็ทธิวอีแวนเจลลิสมัทธิวผู้ประกาศข่าวประเสริฐ]]
** [[นักบุญลูคอีแวนเจลลิสลูกาผู้ประกาศข่าวประเสริฐ]]
** [[นักบุญจอห์นอีแวนเจลลิสยอห์นผู้ประกาศข่าวประเสริฐ]]
{{เรียงลำดับ|มาร์คมาระโก}}
 
[[หมวดหมู่:นักบุญ]]
[[หมวดหมู่:นักบุญในคริสต์ศตวรรษที่ 1]]
[[หมวดหมู่:มรณสักขีของคริสเตียน]]
[[หมวดหมู่:อีแวนเจลลิสทั้งสี่ผู้ประกาศข่าวประเสริฐทั้งสี่]]
 
[[ar:مرقس]]