ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แม่พระรับสาร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Jungide (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Clumsily (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
{{ป้ายเตือนปีคศ}}
 
[[ไฟล์:Ohrid annunciation icon.jpg|thumb|250px|“การแจ้งข่าวการบังเกิดอันบริสุทธิ์”แม่พระรับสาร” [[รูปสัญลักษณ์]] จากมาเซโดเนีย]]
'''การประกาศการบังเกิดอันบริสุทธิ์''' หรือ '''การประกาศของเทวทูต''' ({{lang-en|Annunciation หรือ Annunciation of the Blessed Virgin Mary}}) หมายถึง การที่[[พระแม่มารีย์]]ทรงทราบการตั้งครรภ์ [[พระเยซู]]จาก[[ทูตสวรรค์กาเบรียล]] โดยปราศจากการปฎิสนธิกับอสุจิของผู้ชาย ทูตสวรรค์กาเบรียลแจ้งข่าวแก่พระนางว่า พระนางจะมีลูกที่เป็นพระบุตรของ[[พระเจ้า]] ชาวคริสต์ส่วนใหญ่จัดเทศการเลี้ยง (feast) เพื่อฉลองการแจ้งข่าวการบังเกิดอันบริสุทธิ์ในวันที่ 25 มีนาคมของทุกปี เป็นเวลา 9 เดือนก่อนเทศกาลเลี้ยงสำหรับการประสูติของพระเยซูในวันที่ 25 ธันวาคม หรือ[[วันคริสต์มาส]] ของทุกปี
 
'''แม่พระรับสาร'''<ref>ราชบัณฑิตยสถาน. (2548). ''พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล.'' (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน. ISBN 9749588339. หน้า 48.</ref> ({{lang-en|Annunciation, Annunciation of Mary, Annunciation of the Lady หรือ Annunciation of the Blessed Virgin Mary}}) หมายถึง การที่[[พระแม่มารีย์]]ทรงทราบการปฏิสนธิของ[[พระเยซู]]จาก[[ทูตสวรรค์กาเบรียล]] ทูตสวรรค์กาเบรียลแจ้งข่าวแก่พระนางว่า พระนางจะมีลูกที่เป็นพระบุตรของ[[พระเจ้า]]
วันประกาศถือเป็นวันปีใหม่ในหลายประเทศ รวมทั้ง [[อังกฤษ]] ที่เรียกวันดังกล่าวว่า “วันของพระนาง” (Lady Day) นอกจากนี้ [[นิกายโรมันคาทอลิก]] และ [[นิกายอีสเติร์นออร์โธดอกซ์]] เชื่อว่า การแจ้งข่าวการบังเกิดอันบริสุทธิ์มีขึ้นที่เมือง[[นาซาเร็ธ]] ซึ่งปัจจุบันอยู่ใน[[ประเทศอิสราเอล]] แต่ว่าจะเป็นที่ใดแน่นอน ยังไม่เป็นที่ตกลงกัน ส่วน[[นิกายโรมันคาทอลิก]]เชื่อว่า เกิดขึ้นที่ “วิหารการแจ้งข่าว” (Church of the Annunciation) แต่นิกายอีสเติร์นออร์โธดอกซ์เชื่อว่าเกิดขึ้นที่ “วิหารการแจ้งข่าวแห่งกรีกออร์โธดอกซ์” (Greek Orthodox Church of the Annunciation)
 
เหตุการณ์แม่พระรับสารเกิดเมื่อไร ไม่ทราบได้ แต่เมื่อมีการฉลองวันประสูติพระเยซูในวันที่ 25 ธันวาคม ของทุกปี ก็มีผู้ริเริ่มจัดเทศการเลี้ยง (feast) เพื่อฉลองเหตุการณ์แม่พระรับสารนี้ขึ้นในวันที่ 25 มีนาคมของทุกปี เรียกว่า "วันแม่พระรับสาร" (Annunciation of the Lady's Day) โดยนับถอยหลังจากวันคริสต์มาสขึ้นไปเก้าเดือน<ref>ราชบัณฑิตยสถาน. (2548). ''พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล.'' (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน. ISBN 9749588339. หน้า 49.</ref>
== การประกาศการบังเกิดอันบริสุทธิ์ ตามคัมภีร์ไบเบิล ==
 
นอกจากนี้ เหตุการณ์แม่พระรับสารเกิดที่ไหน ก็ไม่มีใครทราบได้ ทว่า ฝ่าย[[นิกายอีสเติร์นออร์โธดอกซ์|อีสเติร์นออร์โธดอกซ์]]เชื่อว่า เกิดที่เมือง[[นาซาเร็ธ]] [[ประเทศอิสราเอล]] ที่ "วัดกรีกออร์โธดอกซ์แม่พระรับสาร" (Orthodox Church of the Annunciation)) ส่วนฝ่าย[[นิกายโรมันคาทอลิก|โรมันคาทอลิก]]ก็เชื่อว่าเกิดที่เมืองนาซาเร็ธนั้น และเกิดที่ "วัดแม่พระรับสาร" (Church of the Annunciation)
[[พระคัมภีร์ไบเบิล]] [[พระวรสารนักบุญลูกา]] บทที่ 1 ข้อ 26-38 บรรยายเหตุการณ์การแจ้งข่าวการบังเกิดอันบริสุทธิ์ ว่า
 
== เหตุการณ์แม่พระรับสาร ตามพระคัมภีร์ไบเบิล ==
 
[[พระคัมภีร์ไบเบิล]] [[พระวรสารนักบุญลูกา]] บทที่ 1 ข้อ 26-38 บรรยายเหตุการณ์การแจ้งข่าวการบังเกิดอันบริสุทธิ์แม่พระรับสาร ว่า
 
::<sup>26</sup>เมื่อถึงเดือนที่หก พระเจ้าทรงใช้ทูตสวรรค์กาเบรียลนั้นให้มายังเมืองหนึ่งในแคว้นกาลิลี ชื่อ นาซาเร็ธ<sup>27 </sup>มาถึงหญิงพรหมจารีคนหนึ่งที่ได้หมั้นกันไว้กับชายคนหนึ่งที่ชื่อ โยเซฟ เป็นคนในเชื้อวงศ์ดาวิด หญิงพรหมจารีนั้นชื่อ มารีย์<sup>28</sup>ทูตสวรรค์เข้าบ้านมาถึงหญิงพรหมจารีนั้น แล้วว่า เธอผู้ซึ่งพระเจ้าทรงโปรดปรานมาก จงจำเริญเถิด พระเป็นเจ้าทรงสถิตอยู่กับเธอ<sup>29</sup>ฝ่ายมารีย์ก็ตกใจเพราะคำของทูตนั้น และรำพึงว่า คำทักทายนั้นจะหมายว่าอะไร<sup>30</sup>แล้วทูตสวรรค์จึงกล่าวแก่เธอว่า มารีย์เอ๋ย อย่ากลัวเลย เพราะเธอเป็นที่พระเจ้าทรงโปรดปรานแล้ว<sup>31</sup>ดูเถิด เธอจะตั้งครรภ์และคลอดบุตรชาย จงตั้งชื่อบุตรนั้นว่า เยซู<sup>32</sup>บุตรนั้นจะเป็นใหญ่ และจะทรงเรียกว่าเป็นบุตรของพระเจ้าสูงสุด พระเจ้าจะทรงประทานพระที่นั่งของดาวิด บรรพบุรุษของท่าน ให้แก่ท่าน<sup>33</sup>และท่านจะครอบครองพงศ์พันธุ์ของยาโคบสืบไปเป็นนิตย์ และแผ่นดินของท่านจะไม่รู้จักสิ้นสุดเลย”
เส้น 17 ⟶ 20:
== ธรรมเนียมของนิกายอีสเติร์นออร์โธดอกซ์ ==
 
[[ไฟล์:Leonardo da Vinci 052.jpg|thumb|250px|“การแจ้งข่าวการบังเกิดอันบริสุทธิ์”ปฏิสนธิ” โดย [[เลโอนาร์โด ดา วินชี]] (ค.ศ. 1472 - ค.ศ. 1475)]]
 
ในนิกายอีสเติร์นออร์โธดอกซ์เรียกแมรีว่า “แม่พระผู้ให้กำเนิดประสูติพระเจ้า” (God Bearer) หรือในภาษากรีกว่า “Theotokos” เทศกาลเลี้ยงสำหรับวันแจ้งข่าวการประสูติแม่พระรับสาร ถือกันว่าเป็นหนึ่งในสิบสองของเทศกาลเลี้ยงสำคัญตามปฏิทินศาสนา เพราะความสำคัญของวันประกาศนี้ทำให้การฉลองทำกันทุกในวันที่ 25 มีนาคม ไม่ว่าจะเป็นวันใด แม้ว่าจะตรงกับ[[วันอีสเตอร์]]เอง

การประกาศจะที่ทูตสวรรค์มาแจ้งข่าวการปฏิสนธินี้ เรียกว่า “Euangelismos” ในภาษากรีก หรือ “Evangelism” ในภาษาอังกฤษ ซึ่งแปลตรงตัวว่า “การประกาศข่าวประเสริฐ”
 
== เหตุการณ์แม่พระรับสาร ตามคัมภีร์อัลกุรอาน ==
 
== การแจ้งข่าวการบังเกิดอันบริสุทธิ์ ตามคัมภีร์อัลกุรอาน ==
{{โครงส่วน}}
 
== การแจ้งข่าวการบังเกิดอันบริสุทธิ์เหตุการณ์แม่พระรับสาร ในศิลปะ ==
 
เหตุการณ์แม่พระรับสารเป็นหัวเรื่องที่วาดกันบ่อยที่สุดหัวข้อหนึ่งใน[[ศิลปะคริสต์ศาสนา]]ทั้งทางคริสต์ศาสนาตะวันออกและตะวันตก โดยศัพท์ภาษาไทยทางศิลปะ เรียกภาพหมวดหมู่นี้ว่า '''"ภาพการแจ้งข่าวการปฏิสนธิ"''' (Annunciation)
 
การแจ้งข่าวการบังเกิดอันบริสุทธิ์เป็นหัวเรื่องที่วาดกันบ่อยที่สุดหัวข้อหนึ่งใน[[ศิลปะคริสต์ศาสนา]]ทั้งทางคริสต์ศาสนาตะวันออกและตะวันตกภาพหมวดนี้นิยมมาก โดยเฉพาะใน[[ยุคกลาง]]และ[[ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา|ศิลปะเรอเนซองส์]]โดยศิลปินเกือบทุกคนในสมัยนั้น เพราะการแจ้งข่าวการบังเกิดอันบริสุทธิ์เหตุการณ์แม่พระรับสารเป็นสัญลักษณ์ของความบริสุทธิ์และความสวยสง่า จึงเป็นหัวเรื่องที่นิยมสำหรับศิลปินหลายคน
 
การวางองค์ประกอบของรูปที่มีคนสองคนที่มักจะแต่งตัวอย่างสวยงามและอยู่คนละฝั่ง ทำให้เหมาะกับการจัดแบบ[[บานพับภาพ]] หรือบน[[หน้าบัน]] ในนิกายอีสเทิร์นออร์โธดอกซ์อีสเติร์นออร์โธดอกซ์รูปสัญลักษณ์มักจะอยู่เหนือประตูศักดิ์สิทธิ์ที่เป็นประตูตกแต่งอยู่ระหว่างทางเดินกลางกับบริเวณศักดิ์สิทธิ์[[สถานนมัสการ]] (sanctuary)
 
== อ้างอิง ==
การแจ้งข่าวการบังเกิดอันบริสุทธิ์เป็นหัวเรื่องที่วาดกันบ่อยที่สุดหัวข้อหนึ่งใน[[ศิลปะคริสต์ศาสนา]]ทั้งทางคริสต์ศาสนาตะวันออกและตะวันตก โดยเฉพาะใน[[ยุคกลาง]]และ[[ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา|ศิลปะเรอเนซองส์]]โดยศิลปินเกือบทุกคนในสมัยนั้น เพราะการแจ้งข่าวการบังเกิดอันบริสุทธิ์เป็นสัญลักษณ์ของความบริสุทธิ์และความสวยสง่า จึงเป็นหัวเรื่องที่นิยมสำหรับศิลปินหลายคน
 
{{reflist}}
การวางองค์ประกอบของรูปที่มีคนสองคนที่มักจะแต่งตัวอย่างสวยงามและอยู่คนละฝั่ง ทำให้เหมาะกับการจัดแบบ[[บานพับภาพ]] หรือบน[[หน้าบัน]] ในนิกายอีสเทิร์นออร์โธดอกซ์รูปสัญลักษณ์มักจะอยู่เหนือประตูศักดิ์สิทธิ์ที่เป็นประตูตกแต่งอยู่ระหว่างทางเดินกลางกับบริเวณศักดิ์สิทธิ์ (sanctuary)
 
== ดูเพิ่ม ==
== ข้อมูลเพิ่มเติม ==
* [[พระแม่มารีรีย์]]
* [[พระเยซู]]
* [[ทูตสวรรค์กาเบรียล]]
เส้น 40 ⟶ 52:
== สมุดภาพ ==
<gallery perrow="5">
ภาพ:Sankt Lukas Kirke Copenhagen painting.jpg|“การแจ้งข่าวการบังเกิดอันบริสุทธิ์”ปฏิสนธิ” สองข้างประตูที่วัดเซนต์ลูค [[จิตรกรรมฝาผนัง]], [[โคเปนเฮเกน]], [[ประเทศเดนมาร์ก]]
ภาพ:Pietro Cavallini 013.jpg|“การแจ้งข่าวการบังเกิดอันบริสุทธิ์”ปฏิสนธิ” ที่วัด Santa Maria in Trastevere [[งานโมเสก]]-[[โรม]], [[ประเทศอิตาลี]]
ภาพ:Annunciazione Antoniazzo.jpg|“การแจ้งข่าวการบังเกิดอันบริสุทธิ์”ปฏิสนธิ” โดยอันโตนิอาซโซ โรมาโน (Antoniazzo Romano) -ราว ค.ศ. 1430-1510, ที่วัดซานตามาเรียโซปรามิเนอร์วา (Santa Maria sopra Minerva) โรม, ประเทศอิตาลี
ภาพ:L' Annonciation de 1644, Philippe de Champaigne..jpg|“การแจ้งข่าวการบังเกิดอันบริสุทธิ์”ปฏิสนธิ” โดยฟิลลีป เดอ แชมเปญ (Philippe de Champaigne) -ค.ศ. 1644 พิพิธภัณฑ์เมโทรโปลิตัน, [[นครนิวยอร์ก]], [[สหรัฐอเมริกา]]
ภาพ:Masolino Annunciation.jpg|“การแจ้งข่าวการบังเกิดอันบริสุทธิ์”ปฏิสนธิ”-สีฝุ่นบนไม้ โดยมาโซลิโน ดา พานิคาเล (Masolino da Panicale) - (ราว ค.ศ. 1425-1430) , พิพิธภัณฑ์ศิลปะแห่งชาติ, [[วอชิงตัน ดี.ซี.]], สหรัฐอเมริกา
ภาพ:Volterra duomo di Volterra 006.JPG|“การแจ้งข่าวการบังเกิดอันบริสุทธิ์”ปฏิสนธิ” ที่ มหาวิหารโวลเทอรรา, ประเทศอิตาลี
ภาพ:Fra Angelico 043.jpg|“การแจ้งข่าวการบังเกิดอันบริสุทธิ์”ปฏิสนธิ” โดย [[ฟราแอนเจลิโค]] (ราว ค.ศ. 1437-1446) , พิพิธภัณฑ์ซานมาร์โค, [[ฟลอเรนซ์]]
ภาพ:Gentile da Fabriano 079.jpg|“การแจ้งข่าวการบังเกิดอันบริสุทธิ์”ปฏิสนธิ” โดยเจนทิลี ดา ฟาเบรียโน (Gentile da Fabriano) -ราว ค.ศ. 1425, โรม
ภาพ:Boucicaut-Meister.jpg|“การแจ้งข่าวการบังเกิดอันบริสุทธิ์”ปฏิสนธิ”-[[หนังสือวิจิตร]]
ภาพ:Duomo Ghirlandaio Annunciation closeup.jpg|“การแจ้งข่าวการบังเกิดอันบริสุทธิ์”ปฏิสนธิ” บน[[หน้าบัน]]ที่[[มหาวิหารฟลอเรนซ์]] โดย [[โดเม็นนิโค เกอร์แลนดาโอ]]
และ [[ดาวิเด เกอร์แลนดาโอ]]
ภาพ:Simone Martini 077.jpg|“การแจ้งข่าวการบังเกิดอันบริสุทธิ์”ปฏิสนธิ” [[บานพับภาพ]] โดย [[ซิโมเน มาร์ตินิ]], ฟลอเรนซ์
ภาพ:StaueChâteauPierrefonds6.jpg|ประติมากรรม “การแจ้งข่าวการบังเกิดอันบริสุทธิ์”ปฏิสนธิ” ที่ Château de Pierrefonds, ฝรั่งเศส
</gallery>
{{commonscat|Annunciation|การแจ้งข่าวการบังเกิดอันบริสุทธิ์ปฏิสนธิ}}
 
[[หมวดหมู่:วันสำคัญทางศาสนาคริสต์]]