ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แม่พระรับสาร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Clumsily (คุย | ส่วนร่วม)
Clumsily (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 2961931 สร้างโดย Amx002 (พูดคุย)
บรรทัด 2:
{{ป้ายเตือนปีคศ}}
 
[[ไฟล์:Ohrid annunciation icon.jpg|thumb|250px|“การแจ้งข่าวการบังเกิดอันบริสุทธิ์”ปฏิสนธิ” [[รูปสัญลักษณ์]] จากมาเซโดเนีย]]
'''การประกาศการบังเกิดอันบริสุทธิ์''' หรือ '''การประกาศของเทวทูต''' ({{lang-en|Annunciation หรือ Annunciation of the Blessed Virgin Mary}}) หมายถึง การที่[[พระแม่มารีย์]]ทรงทราบการตั้งครรภ์ [[พระเยซู]]จาก[[ทูตสวรรค์กาเบรียล]] โดยปราศจากการปฎิสนธิกับอสุจิของผู้ชาย ทูตสวรรค์กาเบรียลแจ้งข่าวแก่พระนางว่า พระนางจะมีลูกที่เป็นพระบุตรของ[[พระเจ้า]] ชาวคริสต์ส่วนใหญ่จัดเทศการเลี้ยง (feast) เพื่อฉลองการแจ้งข่าวการบังเกิดอันบริสุทธิ์ในวันที่ 25 มีนาคมของทุกปี เป็นเวลา 9 เดือนก่อนเทศกาลเลี้ยงสำหรับการประสูติของพระเยซูในวันที่ 25 ธันวาคม หรือ[[วันคริสต์มาส]] ของทุกปี
 
'''การประกาศแจ้งข่าวการบังเกิดอันบริสุทธิ์''' หรือ '''การประกาศของเทวทูตปฏิสนธิ''' ({{lang-en|Annunciation หรือ Annunciation of the Blessed Virgin Mary}}) หมายถึง การที่[[พระแม่มารีย์]]ทรงทราบการตั้งครรภ์ ปฏิสนธิของ[[พระเยซู]]จาก[[ทูตสวรรค์กาเบรียล]] โดยปราศจากการปฎิสนธิกับอสุจิของผู้ชาย ทูตสวรรค์กาเบรียลแจ้งข่าวแก่พระนางว่า พระนางจะมีลูกที่เป็นพระบุตรของ[[พระเจ้า]] ชาวคริสต์ส่วนใหญ่จัดเทศการเลี้ยง (feast) เพื่อฉลองการแจ้งข่าวการบังเกิดอันบริสุทธิ์ปฏิสนธิในวันที่ 25 มีนาคมของทุกปี เป็นเวลา 9 เดือนก่อนเทศกาลเลี้ยงสำหรับการประสูติของพระเยซูในวันที่ 25 ธันวาคม หรือ[[วันคริสต์มาส]] ของทุกปี
วันประกาศถือเป็นวันปีใหม่ในหลายประเทศ รวมทั้ง [[อังกฤษ]] ที่เรียกวันดังกล่าวว่า “วันของพระนาง” (Lady Day) นอกจากนี้ [[นิกายโรมันคาทอลิก]] และ [[นิกายอีสเติร์นออร์โธดอกซ์]] เชื่อว่า การแจ้งข่าวการบังเกิดอันบริสุทธิ์มีขึ้นที่เมือง[[นาซาเร็ธ]] ซึ่งปัจจุบันอยู่ใน[[ประเทศอิสราเอล]] แต่ว่าจะเป็นที่ใดแน่นอน ยังไม่เป็นที่ตกลงกัน ส่วน[[นิกายโรมันคาทอลิก]]เชื่อว่า เกิดขึ้นที่ “วิหารการแจ้งข่าว” (Church of the Annunciation) แต่นิกายอีสเติร์นออร์โธดอกซ์เชื่อว่าเกิดขึ้นที่ “วิหารการแจ้งข่าวแห่งกรีกออร์โธดอกซ์” (Greek Orthodox Church of the Annunciation)
 
วันประกาศถือเป็นวันปีใหม่ในหลายประเทศ รวมทั้ง [[อังกฤษ]] ที่เรียกวันดังกล่าวว่า “วันของพระนาง” (Lady Day) นอกจากนี้ [[นิกายโรมันคาทอลิก]] และ [[นิกายอีสเติร์นออร์โธดอกซ์]] เชื่อว่า การแจ้งข่าวการบังเกิดอันบริสุทธิ์ปฏิสนธิมีขึ้นที่เมือง[[นาซาเร็ธ]] ซึ่งปัจจุบันอยู่ใน[[ประเทศอิสราเอล]] แต่ว่าจะเป็นที่ใดแน่นอน ยังไม่เป็นที่ตกลงกัน ส่วน[[นิกายโรมันคาทอลิก]]เชื่อว่า เกิดขึ้นที่ “วิหารการแจ้งข่าว” (Church of the Annunciation) แต่นิกายอีสเติร์นออร์โธดอกซ์เชื่อว่าเกิดขึ้นที่ “วิหารการแจ้งข่าวแห่งกรีกออร์โธดอกซ์” (Greek Orthodox Church of the Annunciation)
== การประกาศการบังเกิดอันบริสุทธิ์ ตามคัมภีร์ไบเบิล ==
 
== การประกาศแจ้งข่าวการบังเกิดอันบริสุทธิ์ปฏิสนธิ ตามคัมภีร์ไบเบิล ==
[[พระคัมภีร์ไบเบิล]] [[พระวรสารนักบุญลูกา]] บทที่ 1 ข้อ 26-38 บรรยายเหตุการณ์การแจ้งข่าวการบังเกิดอันบริสุทธิ์ ว่า
 
[[พระคัมภีร์ไบเบิล]] [[พระวรสารนักบุญลูกา]] บทที่ 1 ข้อ 26-38 บรรยายเหตุการณ์การแจ้งข่าวการบังเกิดอันบริสุทธิ์ปฎิสนธิ ว่า
 
::<sup>26</sup>เมื่อถึงเดือนที่หก พระเจ้าทรงใช้ทูตสวรรค์กาเบรียลนั้นให้มายังเมืองหนึ่งในแคว้นกาลิลี ชื่อ นาซาเร็ธ<sup>27 </sup>มาถึงหญิงพรหมจารีคนหนึ่งที่ได้หมั้นกันไว้กับชายคนหนึ่งที่ชื่อ โยเซฟ เป็นคนในเชื้อวงศ์ดาวิด หญิงพรหมจารีนั้นชื่อ มารีย์<sup>28</sup>ทูตสวรรค์เข้าบ้านมาถึงหญิงพรหมจารีนั้น แล้วว่า เธอผู้ซึ่งพระเจ้าทรงโปรดปรานมาก จงจำเริญเถิด พระเป็นเจ้าทรงสถิตอยู่กับเธอ<sup>29</sup>ฝ่ายมารีย์ก็ตกใจเพราะคำของทูตนั้น และรำพึงว่า คำทักทายนั้นจะหมายว่าอะไร<sup>30</sup>แล้วทูตสวรรค์จึงกล่าวแก่เธอว่า มารีย์เอ๋ย อย่ากลัวเลย เพราะเธอเป็นที่พระเจ้าทรงโปรดปรานแล้ว<sup>31</sup>ดูเถิด เธอจะตั้งครรภ์และคลอดบุตรชาย จงตั้งชื่อบุตรนั้นว่า เยซู<sup>32</sup>บุตรนั้นจะเป็นใหญ่ และจะทรงเรียกว่าเป็นบุตรของพระเจ้าสูงสุด พระเจ้าจะทรงประทานพระที่นั่งของดาวิด บรรพบุรุษของท่าน ให้แก่ท่าน<sup>33</sup>และท่านจะครอบครองพงศ์พันธุ์ของยาโคบสืบไปเป็นนิตย์ และแผ่นดินของท่านจะไม่รู้จักสิ้นสุดเลย”
เส้น 17 ⟶ 18:
== ธรรมเนียมของนิกายอีสเติร์นออร์โธดอกซ์ ==
 
[[ไฟล์:Leonardo da Vinci 052.jpg|thumb|250px|“การแจ้งข่าวการบังเกิดอันบริสุทธิ์”ปฏิสนธิ” โดย [[เลโอนาร์โด ดา วินชี]] (ค.ศ. 1472 - ค.ศ. 1475)]]
 
ในนิกายอีสเติร์นออร์โธดอกซ์เรียกแมรีว่า “ผู้ให้กำเนิดพระเจ้า” หรือในภาษากรีกว่า “Theotokos” เทศกาลเลี้ยงสำหรับวันแจ้งข่าวการประสูติ ถือกันว่าเป็นหนึ่งในสิบสองของเทศกาลเลี้ยงสำคัญตามปฏิทินศาสนา เพราะความสำคัญของวันประกาศนี้ทำให้การฉลองทำกันทุกในวันที่ 25 มีนาคม ไม่ว่าจะเป็นวันใดแม้ว่าจะตรงกับ[[วันอีสเตอร์]]เอง การประกาศจะเรียกว่า “Euangelismos” ในภาษากรีก หรือ “Evangelism” ในภาษาอังกฤษ ซึ่งแปลตรงตัวว่า “การประกาศข่าวประเสริฐ”
 
== การแจ้งข่าวการบังเกิดอันบริสุทธิ์ปฏิสนธิ ตามคัมภีร์อัลกุรอาน ==
{{โครงส่วน}}
 
== การแจ้งข่าวการบังเกิดอันบริสุทธิ์ปฏิสนธิ ในศิลปะ ==
 
การแจ้งข่าวการบังเกิดอันบริสุทธิ์ปฏิสนธิเป็นหัวเรื่องที่วาดกันบ่อยที่สุดหัวข้อหนึ่งใน[[ศิลปะคริสต์ศาสนา]]ทั้งทางคริสต์ศาสนาตะวันออกและตะวันตก โดยเฉพาะใน[[ยุคกลาง]]และ[[ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา|ศิลปะเรอเนซองส์]]โดยศิลปินเกือบทุกคนในสมัยนั้น เพราะการแจ้งข่าวการบังเกิดอันบริสุทธิ์ปฏิสนธิเป็นสัญลักษณ์ของความบริสุทธิ์และความสวยสง่า จึงเป็นหัวเรื่องที่นิยมสำหรับศิลปินหลายคน
 
การวางองค์ประกอบของรูปที่มีคนสองคนที่มักจะแต่งตัวอย่างสวยงามและอยู่คนละฝั่ง ทำให้เหมาะกับการจัดแบบ[[บานพับภาพ]] หรือบน[[หน้าบัน]] ในนิกายอีสเทิร์นออร์โธดอกซ์รูปสัญลักษณ์มักจะอยู่เหนือประตูศักดิ์สิทธิ์ที่เป็นประตูตกแต่งอยู่ระหว่างทางเดินกลางกับบริเวณศักดิ์สิทธิ์ (sanctuary)
เส้น 40 ⟶ 41:
== สมุดภาพ ==
<gallery perrow="5">
ภาพ:Sankt Lukas Kirke Copenhagen painting.jpg|“การแจ้งข่าวการบังเกิดอันบริสุทธิ์”ปฏิสนธิ” สองข้างประตูที่วัดเซนต์ลูค [[จิตรกรรมฝาผนัง]], [[โคเปนเฮเกน]], [[ประเทศเดนมาร์ก]]
ภาพ:Pietro Cavallini 013.jpg|“การแจ้งข่าวการบังเกิดอันบริสุทธิ์”ปฏิสนธิ” ที่วัด Santa Maria in Trastevere [[งานโมเสก]]-[[โรม]], [[ประเทศอิตาลี]]
ภาพ:Annunciazione Antoniazzo.jpg|“การแจ้งข่าวการบังเกิดอันบริสุทธิ์”ปฏิสนธิ” โดยอันโตนิอาซโซ โรมาโน (Antoniazzo Romano) -ราว ค.ศ. 1430-1510, ที่วัดซานตามาเรียโซปรามิเนอร์วา (Santa Maria sopra Minerva) โรม, ประเทศอิตาลี
ภาพ:L' Annonciation de 1644, Philippe de Champaigne..jpg|“การแจ้งข่าวการบังเกิดอันบริสุทธิ์”ปฏิสนธิ” โดยฟิลลีป เดอ แชมเปญ (Philippe de Champaigne) -ค.ศ. 1644 พิพิธภัณฑ์เมโทรโปลิตัน, [[นครนิวยอร์ก]], [[สหรัฐอเมริกา]]
ภาพ:Masolino Annunciation.jpg|“การแจ้งข่าวการบังเกิดอันบริสุทธิ์”ปฏิสนธิ”-สีฝุ่นบนไม้ โดยมาโซลิโน ดา พานิคาเล (Masolino da Panicale) - (ราว ค.ศ. 1425-1430) , พิพิธภัณฑ์ศิลปะแห่งชาติ, [[วอชิงตัน ดี.ซี.]], สหรัฐอเมริกา
ภาพ:Volterra duomo di Volterra 006.JPG|“การแจ้งข่าวการบังเกิดอันบริสุทธิ์”ปฏิสนธิ” ที่ มหาวิหารโวลเทอรรา, ประเทศอิตาลี
ภาพ:Fra Angelico 043.jpg|“การแจ้งข่าวการบังเกิดอันบริสุทธิ์”ปฏิสนธิ” โดย [[ฟราแอนเจลิโค]] (ราว ค.ศ. 1437-1446) , พิพิธภัณฑ์ซานมาร์โค, [[ฟลอเรนซ์]]
ภาพ:Gentile da Fabriano 079.jpg|“การแจ้งข่าวการบังเกิดอันบริสุทธิ์”ปฏิสนธิ” โดยเจนทิลี ดา ฟาเบรียโน (Gentile da Fabriano) -ราว ค.ศ. 1425, โรม
ภาพ:Boucicaut-Meister.jpg|“การแจ้งข่าวการบังเกิดอันบริสุทธิ์”ปฏิสนธิ”-[[หนังสือวิจิตร]]
ภาพ:Duomo Ghirlandaio Annunciation closeup.jpg|“การแจ้งข่าวการบังเกิดอันบริสุทธิ์”ปฏิสนธิ” บน[[หน้าบัน]]ที่[[มหาวิหารฟลอเรนซ์]] โดย [[โดเม็นนิโค เกอร์แลนดาโอ]]
และ [[ดาวิเด เกอร์แลนดาโอ]]
ภาพ:Simone Martini 077.jpg|“การแจ้งข่าวการบังเกิดอันบริสุทธิ์”ปฏิสนธิ” [[บานพับภาพ]] โดย [[ซิโมเน มาร์ตินิ]], ฟลอเรนซ์
ภาพ:StaueChâteauPierrefonds6.jpg|ประติมากรรม “การแจ้งข่าวการบังเกิดอันบริสุทธิ์”ปฏิสนธิ” ที่ Château de Pierrefonds, ฝรั่งเศส
</gallery>
{{commonscat|Annunciation|การแจ้งข่าวการบังเกิดอันบริสุทธิ์ปฏิสนธิ}}
 
[[หมวดหมู่:วันสำคัญทางศาสนาคริสต์]]