ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เมฆโมเลกุล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Luckas-bot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: gl:Nube molecular
Pim145 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Molecular.cloud.arp.750pix.jpg|thumb|250px|กลุ่มเมฆใน[[เนบิวลาคารินา]]ซึ่งถูกแสงดาวเป็นเวลาหลายล้านปีจนมีอุณหภูมิสูงมากและแตกตัวออกจากเนบิวลา ใกล้ๆใกล้ ๆ กันจะเห็นดาวฤกษ์สว่างอยู่ใกล้ๆ ภาพของเมฆกลายเป็นสีแดงเพราะกระบวนการขจัดแสงน้ำเงินเพื่อลดความฟุ้งของฝุ่นในภาพ ภาพนี้ถ่ายโดย[[กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล]]ในปี ค.ศ. 1999]]
 
'''เมฆโมเลกุล''' ({{lang-en|Molecular Cloud}}) คือเมฆระหว่างดวงดาวชนิดหนึ่งที่มีความหนาแน่นมากและมีขนาดใหญ่พอจะทำให้เกิดการก่อตัวของโมเลกุลได้ โดยมากจะเป็นโมเลกุลของ[[ไฮโดรเจน]] (H<sub>2</sub>) บางครั้งก็เรียกว่า "อนุบาลดาวฤกษ์" ({{lang-en|stellarStellar nursery}}) ในกรณีที่มีการก่อตัวของ[[ดาวฤกษ์]]อยู่ภายใน
 
การตรวจจับโมเลกุลไฮโดรเจนโดย[[ดาราศาสตร์อินฟราเรด|การสังเกตการณ์อินฟราเรด]]หรือ[[ดาราศาสตร์วิทยุ|การสังเกตการณ์คลื่นวิทยุ]]จะทำได้ยากมาก ดังนั้นการตรวจจับมักใช้การสำรวจความมีอยู่ของ H<sub>2</sub> โดยอาศัย CO ([[คาร์บอนมอนอกไซด์]]) โดยถือว่าสัดส่วนระหว่างการสะท้อนแสงของ CO กับมวล H<sub>2</sub> เป็นค่าคงที่ แม้ว่าหลักการของสมมุติฐานนี้จะยังเป็นที่สงสัยอยู่ในการสังเกตการณ์[[ดาราจักร]]แห่งอื่นๆ<ref>Craig Kulesa. [http://loke.as.arizona.edu/~ckulesa/research/overview.html "Overview: Molecular Astrophysics and Star Formation"]. Research Projects. เก็บข้อมูลเมื่อ 7 กันยายน 2005.</ref>
 
== อ้างอิง ==