ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปฏิทินจันทรคติไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
→‎การสังเกตดวงจันทร์อย่างง่าย: ผู้เขียนต้องไม่แนะนำ
บรรทัด 34:
'''วันจันทร์เพ็ญ'''
 
วันจันทร์เพ็ญอาจเป็นวันขึ้น 15 ค่ำ หรือแรม 1 ค่ำก็ได้ ผู้ที่เคยสังเกตดวงจันทร์จะทราบดีว่า เป็นการยากมากที่จะบอกได้ว่า วันไหนเป็นวันเพ็ญ เพราะมักจะเห็นว่าเต็มดวงอยู่ 2 วัน บางท่านอาจเห็น 4 วัน ต้องใช้รูปถ่ายที่ขยายแล้วนำมาเทียบกัน ผู้เขียนแนะนำการดูจันทร์เพ็ญอย่างง่าย ในเขตร้อน เช่น ประเทศไทย ให้ดูเวลาที่ดวงอาทิตย์ตก ดังนี้
 
1.ถ้าคืนนั้นเป็นจันทร์เพ็ญ จะเห็นดวงจันทร์กำลังขึ้นพอดี อยู่ฝั่งตรงข้ามกับดวงอาทิตย์
บรรทัด 44:
'''วันจันทร์ดับอย่างง่าย'''
 
วันจันทร์ดับอาจเป็นวันแรม 14-15 ค่ำ หรือขึ้น 1 ค่ำก็ได้ (มีโอกาส ราว 50%) ผู้เขียนแนะนำการดูจันทร์เพ็ญดับอย่างง่าย ในเขตร้อน เช่น ประเทศไทย ให้ดูเวลาที่ดวงอาทิตย์ตก ดังนี้
 
1.ถ้าคืนนั้นดวงจันทร์ยังไม่ดับ จะไม่เห็นดวงจันทร์เลย เพราะดวงจันทร์ตกขอบฟ้าไปก่อนดวงอาทิตย์ เช่น วันแรม 13-14-15 ค่ำ
บรรทัด 51:
 
3.ถ้าคืนนั้นเป็นคืน New Moon คือ คืนถัดจากคืนจันทร์ดับ จะเห็นดวงจันทร์เป็นเสี้ยวบางๆ หงายท้อง และตกตามหลังดวงอาทิตย์ไป ราว 1/2 ชั่วโมง เช่น ขึ้น 2 ค่ำ อาจเป็นขึ้น 1 ค่ำก็ได้ ในบางเดือน)
 
 
'''วันจันทร์ครึ่งดวง'''
เส้น 59 ⟶ 58:
 
2.การสังเกตดวงจันทร์ครึ่งดวงข้างแรม ให้ดูในตอนที่ดวงอาทิตย์ขึ้น ดวงจันทร์จะอยู่กลางฟ้า (ทางทิศใต้) พอดี ส่วนมากตรงกับวันแรม 8 ค่ำ แต่อาจเป็นแรม 7 ค่ำก็ได้
 
 
'''การดูจันทร์ดับ/เพ็ญจากอุปราคา'''