ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mda (คุย | ส่วนร่วม)
ZenithZealotry (คุย | ส่วนร่วม)
เรียบเรียงใหม่
บรรทัด 30:
 
== พระนาม ==
 
พระนาม "ภูมิพลอดุลเดช" นั้น พระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจาก[[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]] เมื่อวันที่ [[14 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2470]] โดยทรงกำกับตัวสะกดเป็นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ซึ่งในระยะแรกสะกดเป็นภาษาไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเองทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุล<u>ย</u>เดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกันไป จนมาทรงนิยมใช้แบบหลังซึ่งมีตัว "ย" สะกดตราบปัจจุบัน <ref name="เจ้านายเล็กๆ">{{อ้างหนังสือ
| ผู้แต่ง = [[สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา]]
เส้น 46 ⟶ 45:
 
=== ความหมายของพระนาม ===
 
* ''ปรมินทร'' - มาจากการสนธิคำระหว่าง "ปรม (ป.,ส. : อย่างยิ่ง, ที่สุด) + อินฺทฺร (ส. , ป. อินฺท : ผู้เป็นใหญ่) " หมายความว่า "ผู้เป็นใหญ่ที่สุด" หรือ "ผู้เป็นใหญ่อย่างยิ่ง"
* ''ภูมิพล'' - ''ภูมิ'' หมายความว่า "แผ่นดิน" และ ''พล'' หมายความว่า "พลัง" รวมกันแล้วหมายถึง "พลังแห่งแผ่นดิน"
เส้น 52 ⟶ 50:
 
== พระชนมายุช่วงต้น ==
 
=== ทรงพระเยาว์ ===
 
[[ไฟล์:Mahidols-1938.jpg |thumb|left||300px| (ด้านหน้า จากขวามาซ้าย) พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช; [[สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี]] และ[[พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล]] [[กรมพระยาชัยนาทนเรนทร]]]]
 
เส้น 65 ⟶ 61:
 
=== ทรงศึกษา ===
 
[[พ.ศ. 2475]] เมื่อเจริญพระชนมายุได้สี่พรรษา เสด็จเข้าศึกษาที่[[โรงเรียนมาแตร์เดอี]] จนถึงเดือนพฤษภาคม [[พ.ศ. 2476]] จึงเสด็จพระราชดำเนินไปประทับ ณ [[โลซาน|เมืองโลซาน]] [[ประเทศสวิตเซอร์แลนด์]] พร้อมด้วยพระบรมราชชนนี พระเชษฐภคินี และสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช เพื่อการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อชั้นประถมศึกษา ณ [[โรงเรียนเมียร์มองต์]] เมืองโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชา[[ภาษาฝรั่งเศส]] [[ภาษาเยอรมัน]] และ[[ภาษาอังกฤษ]] แล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ "โรงเรียนแห่งใหม่ของซืออีสโรมองด์" ({{lang-fr|École Nouvelle de la Suisse Romande}}, เอกอล นูแวล เดอ ลา ซืออีส โรมองด์) [[แชลลี-ซูร์-โลซาน|เมืองแชลลี-ซูร์-โลซาน]] ({{lang-fr|Chailly-sur-Lausanne}})
 
เส้น 72 ⟶ 67:
เดือนพฤศจิกายน [[พ.ศ. 2481]] ได้โดยเสด็จฯ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล เสด็จนิวัตประเทศไทย เป็นเวลา 2 เดือน โดยประทับที่[[พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน]] [[พระราชวังดุสิต]] จากนั้นเสด็จกลับไปศึกษาต่อที่สวิตเซอร์แลนด์จนถึงปี [[พ.ศ. 2488]] ทรงรับประกาศนียบัตรทางอักษรศาสตร์ จากโรงเรียนยิมนาส คลาซีค กังโตนาล แล้วทรงเข้าศึกษาต่อ ณ [[มหาวิทยาลัยโลซาน]] แผนก[[วิทยาศาสตร์]] โดยเสด็จนิวัตประเทศไทยเป็นครั้งที่สอง ประทับ ณ [[พระที่นั่งบรมพิมาน]] ใน[[พระบรมมหาราชวัง]]<ref name="kingjubnet">{{cite web |year = 1999 |url = http://www.kanchanapisek.or.th/biography/hmk.en.html |title = Biography of His Majesty King Bhumibol Adulyadej |work = The Golden Jubilee Network |publisher = Kanchanapisek Network |accessdate = 2006-08-05}}</ref>
 
== ทรงประสบอุบัติเหตุ และทรงหมั้น ==
หลังจากที่จบการศึกษาจากสวิตเซอร์แลนด์ พระองค์เสด็จไปเยือน[[ปารีส|กรุงปารีส]] ทรงพบกับหม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ กิติยากร ซึ่งเป็นลูกสาวของเอกอัครราชทูตไทยประจำ[[ฝรั่งเศส]] เป็นครั้งแรก<ref>{{cite web |year=1988 |url=http://www.asiasource.org/society/bhumiboladulyadej.cfm |title=Bhumibol Adulyadej |work=The Encyclopedia of Asian History the Asia Society 1988. |publisher=Asia Source |accessdate=2007-09-25}}</ref> ในขณะนี้ ทั้งสองพระองค์มีพระชนมายุ 21 พรรษาและ 15 พรรษาตามพระลำดับ
 
เส้น 79 ⟶ 75:
 
=== เสวยราชย์ และทรงเสกสมรส ===
 
{{ดูเพิ่มที่2|เหตุการณ์สวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร|พระราชพิธีราชาภิเษกสมรส ในรัชกาลที่ 9|พระราชพิธีบรมราชาภิเษก ในรัชกาลที่ 9}}
 
เส้น 96 ⟶ 91:
 
=== ทรงผนวช ===
 
{{บทความหลัก2|พระราชพิธีทรงผนวช ในรัชกาลที่ 9}}
 
เส้น 104 ⟶ 98:
 
== สถานะพระมหากษัตริย์ ==
 
ตามกฎหมายไทย พระองค์ทรงดำรงอยู่ในสถานะที่ "ผู้ใดจะละเมิดมิได้" การวิพากษ์วิจารณ์พระองค์ และการกล่าวหาว่าพระองค์เข้ามามีส่วนร่วมทางการเมืองถือเป็น "[[ความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์]]" และระวางโทษจำคุกตั้งแต่สามปีถึงสิบห้าปี<ref>[http://news.bbc.co.uk/1/hi/world/asia-pacific/7128935.stm Why Thailand's king is so revered] BBC News. 5 December 2007. Retrieved 3 February 2010</ref> ทั้งนี้ พระองค์เคยมีพระราชดำรัสในวันเฉลิมพระชนมพรรษาเมื่อปี 2548 ว่า "...ถ้าบอกว่าพระเจ้าอยู่หัวไปวิจารณ์ท่านไม่ได้ ก็หมายความว่า พระเจ้าอยู่หัวไม่เป็นคน...ฝรั่งเขาบอกว่า ในเมืองไทยนี่ พระมหากษัตริย์ถูกด่า ต้องเข้าคุก...ที่จริงพระมหากษัตริย์ไม่เคยบอกให้เข้าคุก..."<ref>[http://guru.sanook.com/pedia/topic/%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%8A%E0%B8%94%E0%B8%B3%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%AA_%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B9%87%E0%B8%88%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%88%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B8%B9%E0%B9%88%E0%B8%AB%E0%B8%B1%E0%B8%A7_%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%89%E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%8A%E0%B8%99%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A9%E0%B8%B2_2548/ พระราชดำรัส พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษา 2548]</ref>
 
เส้น 110 ⟶ 103:
 
== บทบาททางการเมือง ==
 
ตาม[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย]] พระองค์ทรงเป็น[[ประมุขแห่งรัฐ]] [[จอมทัพไทย]] และ[[อัครศาสนูปถัมภก]] และทรงเป็น[[ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ|พระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ]] แต่พระองค์ทรงแทรกแซงใน[[การเมืองไทย]]หลายครั้ง โดยเฉพาะในช่วงปี 2530-2540 เป็นที่ทราบกันว่า พระองค์ทรงมีบทบาทสำคัญใน[[พฤษภาทมิฬ|การเปลี่ยนผันประเทศไทยจากระบอบทหารไปสู่ระบอบประชาธิปไตย]] และทรงใช้พระราชอำนาจทางศีลธรรมยับยั้งการปฏิวัติและการกบฏหลายช่วงด้วยกัน ทว่า พระองค์ก็ทรงสนับสนุน[[ระบอบทหาร]]เป็นหลายครา ซึ่งในจำนวนนี้ อาทิ [[สฤษดิ์ ธนะรัชต์]] ในช่วงปี 2500-2510 ตลอดรัชกาลอันยาวนาน พระองค์ได้ทอดพระเนตรการรัฐประหารกว่าสิบห้าครั้ง รัฐธรรมนูญกว่าสิบแปดฉบับ และการเปลี่ยนแปลงนายกรัฐมนตรีเกือบสามสิบคน<ref>{{cite news| url=http://www.guardian.co.uk/world/2009/oct/15/thailand-bhumibol-stockmarket-sickness | work=The Guardian | location=London | title=Fears for Thai monarch set stockmarket tumbling for second day | date=15 October 2009 | accessdate=13 April 2010 | first=Ben | last=Doherty}}</ref>
 
เส้น 138 ⟶ 130:
 
=== สมัยพลเอกสุจินดา คราประยูร ===
{{บทความหลัก2|พฤษภาทมิฬ}}
[[ไฟล์:200535.jpg|thumb|left|200px|การแทรกแซงของพระมหากษัตริย์ในคืนวันที่ 20 พฤษภาคม]]
 
{{บทความหลัก2|พฤษภาทมิฬ}}
 
ใน พ.ศ. 2535 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงมีบทบาทเป็นสำคัญในการเปลี่ยนผันระบอบทหารไปสู่ระบอบประชาธิปไตย โดยการรัฐประหารของคณะทหารเมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2534 ได้นำประเทศไทยกลับไปสู่ระบอบเผด็จการทหารอีกครั้ง หลักการเลือกตั้งในปีถัดมา พลเอก[[สุจินดา คราประยูร]] หัวหน้าคณะรัฐประหาร ซึ่งเคยตกปากว่าจะไม่รับตำแหน่งใด ๆ ภายหลังจากเลือกตั้งอีกเพื่อตัดข้อครหาบทบาทของทหารในรัฐบาลพลเรือน กลับยอมรับตำแหน่งนายกรัฐมนตรี และสร้างความไม่พอใจท่ามกลางประชาชนเป็นอันมาก นำไปสู่การประท้วง และมีผู้คนล้มลายหลายหลากเมื่อฝ่ายทหารเปิดการโจมตีผู้ชุมนุม เหตุการณ์ดิ่งสู่ความรุนแรงเรื่อย ๆ เมื่อกำลังทหารและตำรวจเข้าควบคุมกรุงเทพมหานครเต็มที่<ref name="bloodymay">{{cite web |year=2000|url=http://www.seameo.org/vl/92may/92may1.htm |title=Development Without Harmony |publisher=Southeast Asian Ministers of Education Organization |accessdate=26 September 2007}}</ref> และท่ามกลางสงครามกลางเมืองครั้งนี้ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงเข้าแทรกแซง โดยมีพระบรมราชโองการเรียกพลเอกสุจินดา คราประยูร และหัวหน้ากลุ่มผู้ประท้วงเพื่อเรียกร้องประชาธิปไตย ให้เฝ้า และพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ถ่ายทอดการนี้ออกอากาศสดได้ ในภาพทางโทรทัศน์ พระองค์ทรงขอให้คู่กรณียุติความรุนแรงและนำพาชาติบ้านเมืองไปสู่สันติ ณ จุดสูงสุดของวิกฤติการณ์ ปรากฏภาพพลเอกสุจินดา คราประยูร และหัวหน้าผู้ประท้วง เฝ้าทูลละอองพระบาทโดยหมอบกราบ และที่สุดก็นำไปสู่การลาออกของพลเอกสุจินดา คราประยูร และการเลือกตั้งทั่วไป<ref name="srimuang">{{cite web |year=2000|url=http://www.rmaf.org.ph/Awardees/Biography/BiographySrimuangCha.htm |title=BIOGRAPHY of Chamlong Srimuang |work=The 1992 Ramon Magsaysay Award for Government Service|publisher=Ramon Magsaysay Award Foundation |accessdate=26 September 2007}}</ref>
เส้น 166 ⟶ 157:
 
=== ทรัพย์สินส่วนพระองค์ ===
 
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ยังทรงมีการลงทุนส่วนพระองค์เอง โดยไม่ผ่านสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ โดยการเป็นผู้ถือหุ้นใน บริษัท สัมมากร จำกัด (มหาชน) 43.87%<ref name="access-three">[http://www.set.or.th/set/companyinfo.do?type=holder&symbol=SAMCO&language=th&country=TH รายชื่อผู้ถือหุ้น บริษัท สัมมากร จำกัด (มหาชน) : SAMCO] [http://www.set.or.th (www.set.or.th)] เรียกข้อมูลวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2550</ref> บริษัท ไทยประกันภัย จำกัด (มหาชน) 18.56%<ref name="access-four">[http://www.set.or.th/set/companyinfo.do?type=holder&symbol=TIC&language=th&country=TH รายชื่อผู้ถือหุ้น บริษัท ไทยประกันภัย จำกัด (มหาชน) : TIC] [http://www.set.or.th (www.set.or.th)] เรียกข้อมูลวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2550</ref> และบริษัท ไมเนอร์ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด (มหาชน) 2.04%<ref name="access-five">[http://www.set.or.th/set/companyinfo.do?type=holder&symbol=mint&language=th&country=TH รายชื่อผู้ถือหุ้น บริษัท ไมเนอร์ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด (มหาชน) : MINT] [http://www.set.or.th (www.set.or.th)] เรียกข้อมูลวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2550</ref> เป็นต้น
 
เส้น 173 ⟶ 163:
[[มูลนิธิอานันทมหิดล]] อ้างว่า พระองค์ได้พระราชทานทรัพย์สินส่วนพระองค์จำนวนมากแก่ [[โครงการพระราชดำริ]] มูลนิธิในพระบรมราชูปถัมภ์ ตลอดจนการกุสล และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์<ref>[http://kanchanapisek.or.th/kp11/intro/index.th.html มูลนิธิอานันทมหิดล]</ref>
 
=== ผู้การถือหุ้น ===
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงเป็นผู้ถือหุ้นบริษัทเอกชนหลายแห่ง ข้อมูลเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2553 มีดังต่อไปนี้
 
เส้น 185 ⟶ 175:
 
== พระราชบุตร ==
 
[[ไฟล์:20060612-134536-King-60th.jpg|220px|thumb| (จากทางขวา) สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร, สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี, ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี, และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีรัศมิ์ พระวรชายาฯ]]
 
เส้น 212 ⟶ 201:
=== ด้านการเกษตรและชลประทาน ===
[[ไฟล์:เขื่อนภูมิพล.jpg|thumb|200px|เขื่อนภูมิพล]]
 
ในด้านการเกษตร จะทรงเน้นในเรื่องของการค้นคว้า ทดลอง และวิจัยหาพันธุ์พืชใหม่ๆ ทั้งพืชเศรษฐกิจ พืชสมุนไพร รวมถึงการศึกษาเกี่ยวกับแมลงศัตรูพืช และพันธุ์สัตว์ต่างๆ ที่เหมาะสมกับสภาพท้องถิ่นนั้นๆ ซึ่งแต่ละโครงการจะเน้นให้สามารถนำไปปฏิบัติได้จริง มีราคาถูก ใช้เทคโนโลยีง่าย ไม่สลับซับซ้อน เกษตรกรสามารถดำเนินการเองได้ นอกจากนี้ ยังทรงพยายามไม่ให้เกษตรกรยึดติดกับพืชผลทางการเกษตรเพียงอย่างเดียว เพราะอาจเกิดปัญหาอันเนื่องมาจากความแปรปรวนของสภาพดินฟ้าอากาศ หรือความแปรปรวนทางการตลาด แต่เกษตรกรควรจะมีรายได้จากด้านอื่นนอกเหนือไปจากการเกษตรเพิ่มขึ้นด้วย เพื่อจะได้พึ่งตนเองได้ในระดับหนึ่ง
 
เส้น 217 ⟶ 207:
 
=== ด้านการแพทย์ ===
 
โครงการที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานให้กับประชาชนในระยะแรกๆ ล้วนแต่เป็นโครงการด้านสาธารณสุข เพราะพระองค์ทรงเห็นว่า หากประชาชนมีร่างกายที่สมบูรณ์ แข็งแรง จะนำไปสู่สุขภาพจิตที่ดี และส่งผลให้การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมดีไปด้วย พระองค์จึงทรงให้ความสำคัญกับงานด้านสาธารณสุขเป็นอย่างมาก ในการเสด็จพระราชดำเนินไปทรงเยี่ยมราษฏรตามท้องที่ต่างๆ ทุกครั้ง จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้มีคณะแพทย์ที่ประกอบด้วย ผู้เชี่ยวชาญในแต่ละสาขาจากดรงพยาบาลต่างๆ และล้วนเป็นอาสาสมัครทั้งสิ้น โดยเสด็จพระราชดำเนินไปในขบวนอย่างใกล้ชิด พร้อมด้วยเวชภัณฑ์และเครื่องมือแพทย์ครบครัน พร้อมที่จะให้การรักษาพยาบาลราษฎรผู้ป่วยไข้ได้ทันที
 
เส้น 223 ⟶ 212:
 
=== ด้านการศึกษา ===
 
นอกจากนี้ พระองค์ยังโปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้งมูลนิธิอานันทมหิดล เพื่อเป็นการถวายพระเกียรติแด่[[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล]] เพื่อสนับสนุนทางด้านคัดเลือกบัณฑิตในสาขาวิชาต่างๆ ไปศึกษาต่อต่างประเทศ เพื่อจะได้ให้บัณฑิตเหล่านั้นนำความรู้ที่ได้ไปศึกษาวิจัยนำผลงานที่ได้กลับมาพัฒนาประเทศอย่างต่อเนื่อง โดยพระองค์ออกทุนให้ตลอดจนดูแลเกี่ยวกับความเป้นอยู่ในต่างประเทศนั้นๆ อีกด้วย<ref name="ในหลวงกับการศึกษา">'''พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช กับการศึกษาไทย''', สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, 2530.</ref>
 
เส้น 247 ⟶ 235:
 
=== ด้านการกีฬา ===
{{บทความหลัก2|การเล่นกีฬาของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช}}
 
{{บทความหลัก|การเล่นกีฬาของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช}}
 
[[เรือใบ]]เป็นกีฬาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวโปรดเป็นพิเศษ พระองค์ทรงเป็นตัวแทนของประเทศไทยลงแข่งเรือใบใน[[กีฬาแหลมทอง]]ครั้งที่ 4 ระหว่างวันที่ 9-16 ธันวาคม พ.ศ. 2510 ที่ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพ โดยทรงเข้าค่ายฝึกซ้อมตามโปรแกรมการฝึกซ้อม และทรงได้รับเบี้ยเลี้ยงในฐานะนักกีฬา เช่นเดียวกับนักกีฬาคนอื่น ๆ ในที่สุด ด้วยพระปรีชาสามารถ พระองค์ทรงชนะเลิศเหรียญทอง และทรงได้รับการทูลเกล้าฯ ถวายรางวัลเหรียญทองจาก[[สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ]] เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2510<ref>{{cite web |last=Cummins |first=Peter |month=December |year=2004 |url=http://www.chiangmai-mail.com/111/special.shtml |title=His Majesty King Bhumibol Adulyadej The Great: Monarch of Peace and Unity |publisher=Chiang Mai Mail |accessdate=20 July 2006}}</ref> ท่ามกลางความปลื้มปีติของพสกนิกรชาวไทยทั้งประเทศ และเป็นที่ประจักษ์แก่ชนทั่วโลก ทำให้พระอัจฉริยภาพทางกีฬาเรือใบของพระองค์ที่ยอมรับกันทั่วโลก พระองค์ยังได้ทรงออกแบบและประดิษฐ์เรือใบยามว่างออกมาหลายรุ่น พระองค์พระราชทานนามเรือใบประเภทม็อธ (Moth) ที่ทรงสร้างขึ้นว่า [[เรือใบมด]] [[เรือใบซูเปอร์มด]] และ [[เรือใบไมโครมด]] ถึงแม้ว่าเรือใบลำสุดท้ายที่พระองค์ทรงต่อคือ เรือโม้ค (Moke) เมื่อ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2510 เรือใบซูเปอร์มดยังถูกใช้แข่งขันในระดับนานาชาติที่จัดในประเทศไทยหลายครั้ง ครั้งสุดท้ายคือเมื่อ พ.ศ. 2528 ในกีฬาซีเกมส์ครั้งที่ 13<ref>{{cite web |date=6 February 2006 |url=http://www.bangkokpost.net/60yrsthrone/art/index.html |title=The Heart for Art |publisher=Bangkok Post |accessdate=20 July 2006}}</ref><ref name="MODS">{{cite web|url=http://www.thai2arab.com/eng/content.php?page=sub&category=4&subcategory=43&id=31 |title=H.M. King Bhumibol Adulyadej |accessdate=4 March 2008 |publisher=Minsitry of Foreign Affairs, Kingdom of Thailand }}</ref>
 
=== ด้านดนตรี ===
{{บทความหลัก2|เพลงพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช}}
 
งานทางด้านดนตรี พระองค์ทรงรอบรู้เรื่องดนตรีเป็นอย่างดีและทรงดนตรีได้หลายชนิด เช่น แซ็กโซโฟน คราริเน็ต ทรัมเป็ต กีตาร์ และเปียโน ทรงโปรดดนตรีแจ๊สเป็นอย่างมาก และพระองค์ได้ประพันธ์เพลงที่มีความหมายและไพเราะหลายเพลงด้วยกัน เช่น เพลงพระราชนิพันธ์แสงเทียน เป็นเพลงแรก สายฝน ยามเย้น ใกล้รุ่ง ลมหนาว ยิ้มสู้ ค่ำแล้ว ไกลกังวล ความฝันอันสูงสุด และเราสู้ หรือจะเป็นพรปีใหม่ ซึ่งถือได้ว่าเป็นส่วนสำคัญอย่างหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับชีวิตของชาวไทย เป็นต้น<ref>{{cite web |last=Tang |first=Alisa
| date = 13 June 2006 |url=http://www.boston.com/news/world/asia/articles/2006/06/13/thailands_monarch_is_ruler_jazz_musician/?rss_id=Boston.com+%2F+News|title=Thailand's monarch is ruler, jazz musician |publisher=Boston.com News, Associated Press |accessdate=28 February 2007}}</ref><ref>''Home Grown Shows Planned for White House Dinners'', ''The New York Times'', 30 May 1967</ref>
 
== พระเกียรติยศ ==
 
[[ไฟล์:ภปร.gif|thumb|120px|ตราสัญลักษณ์ประจำพระองค์]]
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงได้รับการทูลเกล้าฯ ถวายรางวัลและเกียรติยศต่าง ๆ มากมาย ทั้งจากบุคคลและคณะบุคคลในประเทศและต่างประเทศ อันเนื่องมาจากพระราชกรณียกิจและพระราชอัธยาศัยในการแสวงหาความรู้ ที่สำคัญเป็นต้นว่า
เส้น 315 ⟶ 301:
* [[การเสด็จออกมหาสมาคม ในรัชกาลที่ 9|การเสด็จออกมหาสมาคม ในรัชกาลที่ 9]]
* [[พระราชอำนาจทางการเมือง ในรัชกาลที่ 9|พระราชอำนาจทางการเมือง ในรัชกาลที่ 9]]
* [[เพลงพระราชนิพนธ์]]
* [[พระสมเด็จจิตรลดา]]