ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เรือประจัญบานมูซาชิ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chale yan (คุย | ส่วนร่วม)
Chale yan (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 61:
 
== การออกแบบและการก่อสร้าง ==
มูซาชิเป็นเรือลำที่สองของ[[เรือประจัญบานชั้นยามาโตะ]]ออกแบบโดย[[กองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่น]]ในปี ค.ศ. 1937<ref name=cfrecord>{{Cite web |url= http://combinedfleet.com/musashi.htm|title= Combined Fleet - tabular history of ''Musashi''|accessdate=8 January 2009 |work= |publisher=Parshall, Jon; Bob Hackett, Sander Kingsepp, & Allyn Nevitt |date=}}</ref><ref name=S43>Schom (2004), p. 43</ref> มูซาชิและ[[เรือประจัญบานยามาโตะ|ยามาโตะ]]ได้รับการสร้างขึ้นให้สามารถต่อสู้กับเรือหลวงฝ่ายตรงข้ามได้ทีละหลายลำพร้อมกัน เป็นวิธีที่จะชดเชยความสามารถทางด้านอุตสาหกรรมของญี่ปุ่นที่ด้อยกว่ากองทัพเรือสหรัฐอเมริกา{{#tag:ref|ในปี ค.ศ. 1937 จักรวรรดิญี่ปุ่นมีผลผลิตอุตสาหกรรม 3.5% ของโลก ขณะที่สหรัฐมีถึง 35%<ref>Willmott (2000), p. 35</ref>|group=N}} เรือแต่ละลำในชั้นยามาโตะนั้นมีระวางขับน้ำมากกว่า 70,000 ตัน และหวังกันว่าอำนาจการยิงของมูซาชิและเรืออื่นในชั้นจะสามารถชดเชยความต่างชั้นจากอำนาจทางอุตสาหกรรมของสหรัฐได้<ref name=S43/>
การต่อเรือประจัญบานมุซาชิที่บริษัทมิตซูบิชิ จังหวัดนางาซากิเนื่องจากเป็นบริษัทของเอกชน จึงนับว่าค่อนข้างยากกว่าอู่ของฐานทัพเรือ ที่มีทหารเป็นผู้ควบคุม ดังนั้นในลำดับแรกได้มีการสอบประวัติภูมิหลังของคนงานทุกคนที่มาทำหน้าที่ต่อเรือนี้ที่บริเวณอู่แห้ง ทั้งทางด้านข้าง ด้านบน ด้านหน้า และด้านหลัง จะกรุด้วยตาข่ายที่ทำจากใย ของพืช มีความยาวรวมแล้วถึง ๒,๗๐๐ กิโลเมตร (เป็นระยะทางจากโตเกียวถึงนางาซากิ ไป กลับสองตลบแล้วกลับมาจรดที่เกียวโต) เป็นน้ำหนักของตาข่ายนี้ถึง ๔๐๐ ตัน ยังผลให้ชาว ประมงบนเกาะกิวชิว ขาดวัถตุดิบสำคัญที่จะใช้ในการผลิตอวนจับสัตว์น้ำไปเป็นเวลานาน นอกจากนี้ยังได้ขึงตาข่ายปิดล้อมบริเวณอู่แห้งที่ต่อเรือนี้อีกด้วย แต่ที่บริษัทมิตซูบิชิ ที่ต่อเรือประจัญบาน มุซาชิ นั้น เนื่องจากเป็นของเอกชน แม้จะมีการเข้มงวด กวดขัน กันอย่างมาก ก็ยังปรากฏว่ามีแบบแปลนสูญหายไป ๑ แผ่น จึงได้มีการจับกุมบรรดา นายช่างและผู้เกี่ยวข้องหลายคนมาสอบสวน ก็ได้ความว่ามีคนงานคนหนึ่งทนความเข้มงวด ของทางการไม่ไหว จึงได้นำแบบแปลนไปเผาทำลายเสีย ๑ แผ่น
 
<!--In consideration of ''Musashi''{{'}}s projected mass, the construction [[slipway]] was fortified, nearby workshops were expanded, and two [[Crane_(machine)#Floating_crane|floating cranes]] were constructed from scratch.<ref name="johnston123"/><ref name=GD53>Garzke and Dulin, p. 53</ref> The keel of ''Musashi'' was laid down 29 March 1938 at [[Mitsubishi]]'s [[Nagasaki]] shipyard, and was designated "Battleship No. 2".<ref name=cfrecord/><ref name=GD66>Garzke and Dulin, p. 66</ref> Throughout construction, strategically placed warehouses and a large hanging blind made of hemp rope weighing {{Convert|408|t|ST}} prevented outsiders from viewing construction.<ref name=johnston123>Johnston, p. 123</ref><ref name=GD51>Garzke and Dulin, p. 51</ref>{{#tag:ref|The amount of [[sisal]] rope necessary to complete the curtain was so great that many fishermen, its customary consumers, were unable to acquire it.|group=N}}<ref name=GD51/> The deceptions were so successful that the American Consulate, located across the bay from ''Musashi''{{'s}} construction site, was unaware of her existence during the construction.<ref name=johnston123/> ''Musashi'' was launched 1 November 1940, with Captain (later Vice Admiral) [[Kaoru Arima]] assigned as her Chief Equipping Officer.<ref name=cfrecord/><ref name=GD66/> ''Musashi'' was [[Fitting-out|fitted out]] at [[Sasebo, Nagasaki|Sasebo]].<ref name=GD66/>
 
===Armament===
''Musashi''{{'s}} main battery consisted of nine 18.1-inch [[40 cm/45 Type 94]] naval guns&mdash;the largest caliber of naval rifle artillery ever fitted to a warship.<ref name=jackson75>Jackson (2000), p. 75</ref> Each gun was {{Convert|21.13|m|ft}} long, {{Convert|147.3|MT|ST}} in weight, and was capable of firing high-explosive or armor-piercing shells {{Convert|42.0|km|mi}}.{{#tag:ref|Each of the three main turrets weighed more than a good-sized destroyer.<ref name="johnston123"/>|group=N}} The guns and their turrets were built at the [[Kure Naval Arsenal]] and were transported to Nagasaki by the cargo ship {{ship|Japanese ammunition ship|Kashino||2}}, which had been specifically built for this purpose.<ref name="KYUHEIKAN">{{cite web|url=http://www.combinedfleet.com/Kyuheikan_c.htm|title=Kyuheikan! Stories of the IJN's Ammunition Ships|last=Hackett|first=Bob|coauthors=Kingsepp, Sander and Cundall, Peter |year=2009|publisher=Combinedfleet.com|accessdate=1 July 2009}}</ref>
 
''Musashi's'' [[secondary battery]] comprised 12 {{Convert|6.1|in|cm|adj=on}} guns mounted in four triple turrets (one forward, one aft, two midships),<ref name=jackson75/> and 12 {{Convert|5|in|cm|adj=on}} guns in six double-turrets (three on each side amidships).<ref name=jackson75/> In addition, ''Musashi'' carried 24 {{Convert|1|in|cm|adj=on}} anti-aircraft guns, primarily mounted amidships.<ref name=jackson75/> When refitted in 1944, the secondary battery configuration was changed to six {{Convert|6.1|in|cm|adj=on}} guns,<ref name=johnston180>Johnston and McAuley (2000), p. 180</ref> 24 {{Convert|5|in|cm|adj=on}} guns,<ref name=johnston180/> and 130 [[Type 96 25 mm AT/AA Gun|{{convert|25|mm|in|abbr=on}} Type 96 AA guns]],<ref name=johnston180/> in preparation for naval engagements in the [[South Pacific]].<ref name=cfrecord/>
 
การต่อเรือประจัญบานมุซาชิที่บริษัทมิตซูบิชิ จังหวัดนางาซากิเนื่องจากเป็นบริษัทของเอกชน จึงนับว่าค่อนข้างยากกว่าอู่ของฐานทัพเรือ ที่มีทหารเป็นผู้ควบคุม ดังนั้นในลำดับแรกได้มีการสอบประวัติภูมิหลังของคนงานทุกคนที่มาทำหน้าที่ต่อเรือนี้ที่บริเวณอู่แห้ง ทั้งทางด้านข้าง ด้านบน ด้านหน้า และด้านหลัง จะกรุด้วยตาข่ายที่ทำจากใย ของพืช มีความยาวรวมแล้วถึง ๒,๗๐๐ กิโลเมตร (เป็นระยะทางจากโตเกียวถึงนางาซากิ ไป กลับสองตลบแล้วกลับมาจรดที่เกียวโต) เป็นน้ำหนักของตาข่ายนี้ถึง ๔๐๐ ตัน ยังผลให้ชาว ประมงบนเกาะกิวชิว ขาดวัถตุดิบสำคัญที่จะใช้ในการผลิตอวนจับสัตว์น้ำไปเป็นเวลานาน นอกจากนี้ยังได้ขึงตาข่ายปิดล้อมบริเวณอู่แห้งที่ต่อเรือนี้อีกด้วย แต่ที่บริษัทมิตซูบิชิ ที่ต่อเรือประจัญบาน มุซาชิ นั้น เนื่องจากเป็นของเอกชน แม้จะมีการเข้มงวด กวดขัน กันอย่างมาก ก็ยังปรากฏว่ามีแบบแปลนสูญหายไป ๑ แผ่น จึงได้มีการจับกุมบรรดา นายช่างและผู้เกี่ยวข้องหลายคนมาสอบสวน ก็ได้ความว่ามีคนงานคนหนึ่งทนความเข้มงวด ของทางการไม่ไหว จึงได้นำแบบแปลนไปเผาทำลายเสีย ๑ แผ่น-->
 
== อุปกรณ์สำหรับการปล่อยเรือประจัญบานมุซาชิลงน้ำ ==