ผลต่างระหว่างรุ่นของ "บาร์โค้ด"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Wikipedia-barcode-128B.png|thumb|คำว่า "''Wikipedia''" เข้ารหัสแบบ Code 128-B]]
 
'''บาร์โค้ด''' หรือ '''รหัสแท่ง''' ({{lang-en|barcode}}) เป็นหนึ่งในหลายวิธีที่ได้ผลดี ในการตรวจสอบสินค้าขณะขาย, การตรวจสอบยอดการขาย และสินค้าคงคลัง เราสามารถที่จะอ่านรหัสแท่งบาร์โค้ดได้ โดยใช้[[เครื่องสแกน]]หรือเครื่องอ่านรหัสแท่งบาร์โค้ด ซึ่งวิธีนี้จะรวดเร็วกว่าการป้อนข้อมูลเข้าเครื่อง[[คอมพิวเตอร์]]หรือการอ่านด้วยสายตา บางครั้งเราจะเห็นเครื่องเหล่านี้ในสถานที่ต่างๆ ซึ่งบางที่เราก็อาจจะคาดไม่ถึง ว่าจะนำไปใช้ได้
 
แต่เดิมมีการใช้รหัสแท่งบาร์โค้ดใน[[ร้านขายของชำ]]และตามปก[[หนังสือ]] ต่อมาพบในร้านอุปกรณ์ประกอบรถยนต์และร้านอุปโภคบริโภคทั่วไป ในแถบ[[ยุโรป]] [[รถบรรทุก]]ทุกคัน ที่จะต้องวิ่งระหว่าง[[ประเทศฝรั่งเศส]]และ[[ประเทศเยอรมนี]] จะต้องใช้รหัสแท่งบาร์โค้ดที่หน้าต่างทุกคัน เพื่อใช้ในการแสดงใบขับขี่ ใบอนุญาต และน้ำหนักรถบรรทุก แก่เจ้าหน้าที่[[ศุลกากร]]สามารถตรวจได้ง่ายและรวดเร็ว ในขณะที่รถลดความเร็ว เครื่องตรวจจะอ่านข้อมูลจากรหัสแท่งบาร์โค้ด และแสดงข้อมูลบนเครื่องคอมพิวเตอร์ทันที
 
== รหัสแท่งบาร์โค้ดสองมิติ ==
ปัจจุบันได้มีการนำรหัสแท่งบาร์โค้ดสองมิติมาใช้งาน สำหรับข้อมูลที่มีจำนวนมาก รวมถึงการนำเทคโนโลยี[[RFID]] ซึ่งเป็นการตรวจสอบข้อมูลผ่านทาง[[คลื่นวิทยุ]] แทนที่[[เลเซอร์]]เหมือนรหัสแท่งบาร์โค้ดในปัจจุบัน
 
รหัสแท่งบาร์โค้ดสองมิติที่นิยมใช้ในปัจจุบันมีหลายประเภท โดยแต่ละประเภทจะมีรูปแบบการจัดวางที่แตกต่างกัน โดยที่นิยมใช้กันมากได้แก่
* [[รหัสคิวอาร์]] (QR Code)
* [[ดาต้าเมทริกซ์]] (Data matrix)