ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อักษรรูน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
อักษรรูนส์ ถูกเปลี่ยนชื่อเป็น อักษรรูน ทับหน้าเปลี่ยนทาง
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
[[ไฟล์:Vaksalastenen.jpg|framed|300px|จารึกอักษรฟูทาร์กใหม่บน Vaksala Runestone]]
'''อักษรรูนส์รูน''' ต้นกำเนิดของหรือ '''อักษรรูนส์มีน้อยมากรูนิก''' ในภาษาพื้นเมืองเรียกฟูทาร์ก ซึ่งหมายถึงตัวอักษร ข้อความ หรือจารึก ใน[[ภาษาเยอรมัน]]เก่าหมายถึง ประหลาดหรือความลับ อักษรนี้มีความเกี่ยวข้องกับเวทมนตร์ ทฤษฎีเกี่ยวกับจุดกำเนิดของอักษรรูนส์รูน ได้แก่ อักษรนี้ถูกออกแบบโดยอิสระ ไม่ขึ้นกับอักษรอื่น การเขียนเริ่มขึ้นในยุโรปใต้และถูกนำไปทางเหนือโดยเผ่าเยอรมัน เป็นแบบให้[[อักษรละติน]]และ[[อักษรอีทรัสคัน]]
 
จารึกอักษรรูนส์รูนที่เก่าที่สุดพบราว พ.ศ. 643 แต่จารึกส่วนใหญ่อยู่ในราว พ.ศ. 1600 พบทั้งยุโรปตั้งแต่[[แหลมบอลข่าน]] เยอรมัน [[สแกนดิเนเวีย]] ไปจนถึง[[อังกฤษ]] ทิศทางการเขียนช่วงแรกผันแปรมาก โดยมากอยู่ในแนวซ้ายไปขวา ไม่มีการแบ่งช่องว่างระหว่างคำมากนัก โดยอาจมีการใช้จุดหนึ่งจุดหรือมากว่า จารึกที่พบมีทั้งจารึกบนผาสูง หินขนาดใหญ่ สิ่งก่อสร้าง จารึกทางศาสนาและเวทมนตร์ จารึกเกี่ยวกับการค้าและการเมือง จดหมายส่วนบุคคล ข้อความสั้นๆและจารึกในงานศิลปะ
== รูปแบบ ==
อักษรรูนส์รูนมีหลายรุปแบบดังต่อไปนี้
* อักษรฟูทาร์กรุ่นแรก (Elder Futhark) เป็นรูปแบบเก่าสุดที่พบในยุโรป ที่เป็นบ้านเกิดของเผ่าเยอรมัน รวมทั้งสแกนดิเนเวีย รูปแบบอื่นๆอาจพัฒนาไปจากรูปแบบนี้
* อักษรรูนส์รูน โกธิก ใช้เขียน[[ภาษาโกธิก]]ที่เป็นภาษาเยอรมันตะวันออก แต่จุดเริ่มต้นยังไม่ชัดเจน จารึกอักษรนี้เหลืออยู่น้อยมาก ถูกแทนที่ด้วยอักษรอื่นเมื่อราว พ.ศ. 900
* อักษรฟูทาร์ก แองโกล-แซกซอน (Anglo-Saxon Futhorc) มีการเพิ่มอักษรบางตัวเข้ามาเพื่อใช้เขียน[[ภาษาแองโกล-แซกซอน]] ซึ่งเป็น[[ภาษาอังกฤษ]]โบราณ คาดว่าอักษรนี้เข้าไปในอังกฤษเมื่อ พ.ศ. 1000 และใช้มาจนถึง พ..ศ. 1600 มักพบบนเครื่องประดับ ก้อนหิน อาวุธ และอื่นๆ
* อักษรฟูทาร์กรุ่นใหม่ (Younger Futhork) พัฒนาจากอักษรรุ่นเก่า และคงตัวอยู่จนถึง พ.ศ. 1300 เป็นอักษรหลักใน[[นอร์เวย์]] [[สวีเดน]] และ[[เดนมาร์ก]] จนกระทั่งถูกแทนที่ด้วยอักษรละตินเมื่อ[[ศาสนาคริสต์]]แพร่ไปถึง อักษรใน 3 ประเทศนี้ต่างกันเล็กน้อย
เส้น 195 ⟶ 194:
 
== อ้างอิง ==
* [http://www.omniglot.com/writing/runic.htm อักษรรูนส์รูนหรือรูนิก]
* ไชย ชาญธรรม. รูน อักษรทำนาย. กทม. เดลฟี. ไม่ปรากฏปีพิมพ์
 
เส้น 207 ⟶ 206:
 
{{อักษรตะวันตก}}
[[หมวดหมู่:อักษรโบราณ|รูนส์รูน]]
[[หมวดหมู่:การพยากรณ์]]