ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การสลายตัวกัมมันตรังสี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่อาจเป็นการทดลอง หรือก่อกวนด้วยบอต ไม่ควรย้อน? แจ้งที่นี่
บรรทัด 8:
== คำอธิบาย ==
[[ไฟล์:Radioactive.svg|thumb|[[:en:Hazard_symbol#Radioactive sign|สัญลักษณ์ใบพัดสามใบ (trefoil symbol)]] ที่แสดงถึงสารกัมมันตรังสี]]
[[นิวตรอน]]และ[[โปรตอน]]ที่ประกอบขึ้นเป็นนิวเคลียส รวมไปถึงอนุภาคอื่นๆที่เข้าใกล้มัน ถูกควบคุมด้วยหลายๆปฏิกิริยา [[อันตรกิริยาอย่างเข้ม|แรงนิวเคลียร์อย่างเข้ม]] ซึ่งไม่สามารถตรวจพบได้ใน[[:en:Macroscopic scale|ระดับที่มองเห็นด้วยตาเปล่า(macroscopic scale)]] เป็นแรงที่แข็งแกร่งที่สุดสำหรับระยะห่างที่เล็กกว่าอะตอม (subatomic distance) [[:en:Coulomb's law|แรงไฟฟ้าสถิตย์ (electrostatic force)]]ก็เป็นอีกแรงที่สำคัญ และ ใน[[:en:Beta decay|การสลายตัวแบบเบต้า 555++(beta decay)]] [[อันตรกิริยาอย่างอ่อน|แรงนิวเคลียร์อย่างอ่อน]]ก็มีส่วนเกี่ยวข้องด้วย
 
ความเกี่ยวพันกันของแรงเหล่านี้ก่อให้เกิดปรากฏการณ์ ที่พลังงานถูกปลดปล่อยออกมาในขณะจัดเรียงตัวของอนุภาค ในการเรียงตัวบางแบบของนิวเคลียส มีคุณสมบัติในการเรียงตัวแบบช้าๆ โดยอนุภาคจะเรียงตัวในรูปแบบที่มีพลังงานต่ำกว่า และปลดปล่อยพลังงานออกมา บางคนอาจเปรียบเทียบลักษณะที่เกิดขึ้นกับ หิมะที่อยู่บนเขา ซึ่งมีแรงเสียดทางระหว่างเกล็ดน้ำแข็งที่รองรับน้ำหนักของหิมะ ซึ่งทำให้ระบบมีความไม่เสถียร เนื่องจากยังสามารถเปลี่ยนไปเป็นสถานะที่มีพลังงานต่ำกว่าได้ สิ่งกระตุ้นจะช่วยให้เกิดสภาวะที่มีค่า[[เอนโทรปี]]ที่สูงกว่า ระบบจะเปลี่ยนแปลงเพื่อไปยังสถานะพื้น, ก่อให้เกิดความร้อน และ พลังงานรวมจะถูกกระจายให้กับระดับพลังงานที่สูงกว่า ซึ่งก่อให้เกิดหิมะถล่มในที่สุด พลังงานรวมไม่มีการเปลี่ยนแปลงในกระบวนการนี้ แต่เนื่องจาก[[อุณหพลศาสตร์#ข้อที่สอง|กฎของเอนโทรปี]] หิมะถล่มจึงเกิดขึ้นได้ในทิศทางเดียวเท่านั้น คือ[[:en:Stationary state|สถานะพื้น (ground state)]] ซึ่งเป็นสถานะที่มีความเป็นไปได้มากที่สุด ในการที่พลังงานที่มีจะถูกกระจายไป
 
ในการถล่มนี้ (การสลายตัว) ต้องการ[[พลังงานกระตุ้น]] เฉพาะในกรณีของหิมะถล่มนั้น พลังงานนี้มาจากการรบกวนจากภายนอกระบบ ซึ่งการรบกวนนี้อาจมีระดับที่เล็กมาก สำหรับในกรณีของนิวเคลียสของอะตอมที่อยู่ในภาวะกระตุ้น สิ่งรบกวนขนาดเล็กนี้เกิดจาก[[:en:Vacuum_fluctuation|การสลับที่ของช่องว่าง(vacuum fluctuations)]]จำนวนหนึ่ง นิวเคลียส (หรือระบบที่ถูกกระตุ้นใดใดก็ตามใน [[กลศาสตร์ควอนตัม]]) ไม่เสถียร และจะทำตัวเองให้เสถียร เปลี่ยนไปเป็นระบบที่ลดระดับการตุ้นลง ผลจากการเปลี่ยนแปลงนี้ส่งผลทำเกิดการเปลี่ยนแปลงในโครงสร้างอะตอม และ เกิดการปลดปล่อยไม่ว่าจะเป็น โปรตอน หรือ อนุภาคความเร็วสูงที่มีมวล (เช่น อิเล็กตรอน, [[อนุภาคแอลฟา]], หรือ อนุภาคอื่นๆ)55++3...................
 
== การค้นพบ ==