ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{วิกฤตการณ์การเมืองในประเทศไทย พ.ศ. 2548-25492553}}
[[ไฟล์:King_CDRM_L.jpg|280px|right|thumb|พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ และ สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ โปรดเกล้าฯ ให้ พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์ พล.อ.สนธิ บุญยรัตกลิน พล.ร.อ.สถิรพันธุ์ เกยานนท์ และ พล.อ.อ.ชลิต พุกผาสุก เข้าเฝ้าฯ ณ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน พระราชวังดุสิต]]
'''คณะปฏิรูปการปกครอง ในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข''' หรือ '''คปค.''' เป็นคณะบุคคล อันประกอบด้วย กลุ่มทหาร ตำรวจ และ พลเรือน ซึ่งมี[[สนธิ บุญยรัตกลิน|พลเอก สนธิ บุญยรัตกลิน]]เป็นหัวหน้า ได้[[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549|เข้ายึดอำนาจ]]การปกครอง[[ราชอาณาจักรไทย]]ไว้ได้ เมื่อ[[วันอังคาร]]ที่ [[19 กันยายน]] [[พ.ศ. 2549]] มีที่ตั้ง ณ กองบัญชาการ[[กองทัพบก]] [[ถนนราชดำเนินนอก]] [[เขตพระนคร]] [[กรุงเทพมหานคร]]
 
บรรทัด 5:
[[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ]] และ [[สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ]] ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้[[เปรม ติณสูลานนท์|พลเอก เปรม ติณสูลานนท์]] ประธาน[[องคมนตรี]] และ [[รัฐบุรุษ]] [[สนธิ บุญยรัตกลิน|พลเอกสนธิ บุญยรัตกลิน]] [[สถิรพันธุ์ เกยานนท์|พลเรือเอก สถิรพันธุ์ เกยานนท์]] และ[[ชลิต พุกผาสุข|พลอากาศเอก ชลิต พุกผาสุข]] เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ถวายรายงานสถานการณ์ การปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข เมื่อเวลา 00.19 น. [[วันพุธ]]ที่ [[20 กันยายน]] ณ [[พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน]] [[พระราชวังดุสิต]]
 
[[ไฟล์:King_CDRM_L.jpg|280px|right|thumb|พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ และ สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ โปรดเกล้าฯ ให้ พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์ พล.อ.สนธิ บุญยรัตกลิน พล.ร.อ.สถิรพันธุ์ เกยานนท์ และ พล.อ.อ.ชลิต พุกผาสุก เข้าเฝ้าฯ ณ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน พระราชวังดุสิต]]
พลเอก สนธิ บุญยรัตกลิน หัวหน้าคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ได้นำความกราบบังคมทูลพระกรุณา ทราบฝ่าละอองธุลีพระบาท ว่า การบริหารราชการแผ่นดินของรัฐบาล อันมี[[ทักษิณ ชินวัตร|พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร]]เป็น[[นายกรัฐมนตรี]] ได้ก่อให้เกิดปัญหา ความขัดแย้งแบ่งฝ่าย สลายความรู้รักสามัคคี ของ คนในชาติ อย่างที่ไม่เคยปรากฏมาก่อนในประวัติศาสตร์ของชาติไทย ต่างฝ่ายต่างมุ่งหวังเอาชนะ ด้วยวิธีการหลากหลายรูปแบบ และมีแนวโน้มนับวันจะทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น โดยประชาชนส่วนใหญ่เคลือบแคลงสงสัยว่า การบริหารราชการแผ่นดิน ส่อไปในทางทุจริต ประพฤติมิชอบ อย่างกว้างขวาง หน่วยงานอิสระ ถูกการเมืองครอบงำ ทำให้การดำเนินกิจกรรมทางการเมือง เกิดปัญหา และ อุปสรรค หลายประการ ตลอดจนหมิ่นเหม่ต่อการหมิ่นพระบรมเดชานุภาพแห่งองค์พระมหากษัตริย์ ผู้ทรงเป็นที่เคารพ เทิดทูน ของปวงชนชาวไทย อยู่บ่อยครั้ง แม้หลายภาคส่วนของสังคม จะได้พยายามประนีประนอม คลี่คลายสถานการณ์ มาโดยต่อเนื่องแล้ว ก็ไม่สามารถรักษาความสงบเรียบร้อยของบ้านเมืองได้
 
เส้น 82 ⟶ 83:
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://www.mict.go.th/cdrc/ เว็บไซต์อย่างเป็นทางการ] ของคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
 
{{วิกฤตการณ์การเมืองในประเทศไทย พ.ศ. 2548-2549}}
 
[[หมวดหมู่:คณะรัฐประหาร]]