ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ข้าวทอง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
มือใหม่ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
มือใหม่ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Carotenoid.svg|thumb|280px|กระบวนการสร้างเบต้าแคโรทีนใน[[เอนโดสเปิร์ม]]ของข้าวทอง [[เอนไซม์]]ที่เร่งปฏิกิริยาที่เกี่ยวข้องแสดงเป็นสีแดง]]
'''ข้าวทอง''' (golden rice) เป็นพันธุ์[[ข้าว]]ที่ถูกพัฒนาขึ้นมาโดยวิธีทาง[[พันธุวิศวกรรม]] เพื่อให้ข้าวสามารถสังเคราะห์ สาร[[เบต้าแคโรทีน]] (เป็นสารตั้งต้นของ [[วิตามินเอ]]) ได้<ref name="ye2000">Ye et al. 2000. Engineering the provitamin A (beta-carotene) biosynthetic pathway into (carotenoid-free) rice [[endosperm]]. ''[[Science (journal)|Science]]'' 287 (5451) : 303-305 PMID 10634784</br></ref> เพื่อใช้เป็นอาหารในแหล่งพื้นที่ที่มีการขาดไวตามินเอ<ref> One existing crop, genetically engineered "golden rice" that produces vitamin A, already holds enormous promise for reducing blindness and dwarfism that result from a vitamin-A deficient diet. - Bill Frist, physician and politician, in a ''Washington Times'' commentary - November 21, 2006 [http://www.washtimes.com/commentary/20061120-094716-8709r.htm]</ref>
 
== การสร้างสายพันธุ์ ==
 
นายอินโก โปเตรคูส (Ingo Potrykus) แห่งสถาบันวิทยาการพืช สถาบันเทคโนโลยีสวิสเซอร์แลนด์ (the Institute of Plant Sciences at the ETH Zürich|Swiss Federal Institute of Technology) ร่วมกับ นายปีเตอร์ เบเยอร์ (Peter Beyer) แห่งมหาวิทยาลัยไฟรเบอร์ (Freiburg University) ได้ร่วมกันสร้างสายพันธุ์ข้าวทองขึ้น โดยโครงการได้เริ่มตั้งแต่ปี ค.ศ. 1992 และได้ตีพิมพ์ผลงานในปี ค. ศ. 2000 ซึ่งการสร้างสายพันธ์ข้าวทอง ถือได้ว่าเป็นผลงานที่สำคัญของ[[เทคโนโลยีชีวภาพ]] ที่นักวิจัยสามารถปรับแต่งกระบวนการ[[ชีวสังเคราะห์วสังเคราะห์]]ได้ทั้งกระบวนการ
 
พันธุ์ข้าวตามธรรมชาตินั้นมีการผลิตสาร[[เบต้าแคโรทีน]]ออกมาอยู่แล้วเพียงแต่สารนั้นจะอยู่ที่ใบ ไม่ได้อยู่ในส่วนของ[[เอนโดสเปิร์ม]] ซึ่งอยู่ในเมล็ดข้าว
บรรทัด 12:
ตามธรรมชาติ
 
=== การพัฒนาสายพันธุ์ ===
 
ต่อมาข้าวทองได้ถูกผสมกับสายพันธุ์ข้าวท้องถิ่นของ[[ฟิลิปปินส์]] [[ไต้หวัน]] และ ข้าว[[อเมริกา]]พันธุ์โคโคไดร์ (Cocodrie)<ref name="lsu2004">LSU AgCenter Communications. [http://www.lsuagcenter.com/news_archive/2004/October/Headline+News/Golden+Rice+Could+Help+Malnutrition.htm ‘red Rice’ Could Help Reduce Malnutrition], 2004</ref>
การทดลองภาคสนามในไร่ของพันธุ์ข้าวทองครั้งแรก ถูกดำเนินการโดยศูนย์การเกษตร มหาวิทยาลัยรัฐหลุยเซียร์น่า (Lousiana State University) ในปี ค.ศ. 2004<ref name="lsu2004"/>
การทดลองภาคสนามจะช่วยให้ผลการประเมินคุณค่าทางอาหารของพันธุ์ข้าวทองได้แม่นยำขึ้น และจากการทดลองในขั้นต้นพบว่าพันธุ์ข้าวทองที่ปลูกจริงในไร่มีปริมาณสารเบต้าแคโรทีนมากกว่าที่ปลูกในเรือนกระจกราวๆ 4 ถึง 5 เท่า<ref name="gr.orgtests">Goldenrice.org [http://www.goldenrice.org/Content2-How/how8_tests.html]{{Dead link|date=February 2009}}</ref><!-- what is the most recent state of the field tests? -->
 
ปีค.ศ. 2005 ทีมนักวิจัยของบริษัท[[ซินเจนต้า]] (Syngenta) ได้พัฒนาสายพันธุ์ข้าวทองขึ้นมาอีกสายพันธุ์ ชื่อว่า พันธุ์ข้าวทอง 2 (Golden Rice 2) โดยการรวมเอาไฟโตนซินเตสยีนจากข้าวโพดเลี้ยงสัตว์กับซีอาร์ทีหนึ่งของพันธุ์ข้าวทองเดิม
พันธุ์ข้าวทอง 2 นี้มีรายงานว่าสามารถให้คาโรตินอยด์ได้มากถึง 37 µg/g หรือ มากกว่าพันธุ์ข้าวทองดั่งเดิมได้ถึง 23 เท่า<ref name="paine2005"/>
 
นายอินโค โปไตรคูส คาดว่าสายพันธุ์ข้าวทองน่าจะผ่านปัญหาเรื่องการกฎระเบียบต่างและสามารถที่จะออกสู่ตลาดได้ในปี ค.ศ. 2012<ref> Potrykus, Ingo (2010) [http://www.goldenrice.org/PDFs/Nature_Opinion_Potrykus_2010.pdf Regulation must be revolutionized] Nature, Vol 466, P561, doi:10.1038/466561a; retrieved August 10, 2010</ref>
 
== อ้างอิง ==