ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ข้าวทอง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
มือใหม่ (คุย | ส่วนร่วม)
แก้ภาษา
มือใหม่ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{สั้นมาก}}
[[ไฟล์:Carotenoid.svg|thumb|280px|กระบวนการสร้างเบต้าแคโรทีนใน[[เอนโดสเปิร์ม]]ของข้าวทอง [[เอนไซม์]]ที่เร่งปฏิกิริยาที่เกี่ยวข้องแสดงเป็นสีแดง]]
'''ข้าวทอง''' ({{en: golden rice}}) เป็นพันธุ์ข้าวที่ถูกพัฒนาขึ้นมาโดยวิธีทาง[[พันธุวิศวกรรม]] เพื่อให้ข้าวสามารถสังเคราะห์ สาร[[เบต้าแคโรทีน]] (เป็นสารตั้งต้นของ [[วิตามินเอ]]) ได้<ref name="ye2000">Ye et al. 2000. Engineering the provitamin A (beta-carotene) biosynthetic pathway into (carotenoid-free) rice [[endosperm]]. ''[[Science (journal)|Science]]'' 287 (5451) : 303-305 PMID 10634784</br></ref> เพื่อใช้เป็นอาหารในแหล่งพื้นที่ที่มีการขาดไวตามินเอ<ref> One existing crop, genetically engineered "golden rice" that produces vitamin A, already holds enormous promise for reducing blindness and dwarfism that result from a vitamin-A deficient diet. - Bill Frist, physician and politician, in a ''Washington Times'' commentary - November 21, 2006 [http://www.washtimes.com/commentary/20061120-094716-8709r.htm]</ref>
 
== การสร้างสายพันธุ์ ==
เส้น 8 ⟶ 7:
 
พันธุ์ข้าวตามธรรมชาตินั้นมีการผลิตสาร[[เบต้าแคโรทีน]]ออกมาอยู่แล้วเพียงแต่สารนั้นจะอยู่ที่ใบ ไม่ได้อยู่ในส่วนของ[[เอนโดสเปิร์ม]] ซึ่งอยู่ในเมล็ดข้าว
พันธุ์ข้าวทองนั้นถูกสร้างขึ้นโดยการต้ดต่อ[[หน่วยพันธุกรรม|ยีน]]สังเคราะห์[[เบต้าแคโรทีน]]ซึ่งคือ ไพโตนซินเตส ({{en= phytoene synthase}}) จาก ต้นแดฟโฟดิล (daffodil) และ ซีอาร์ทีหนึ่ง ({{en: crt1}}) จาก แบคทีเรีย เออวินเนีย ยูเรโดวารา {{en= (Erwinia uredovara}}) เข้าไปในจีโนมของข้าวตรงส่วนที่เกี่ยวข้องกับเอนโดสเปิร์ม จึงทำให้ข้าวที่ได้มีเบต้าแคโรทีน อยู่ในเอนโดสเปิร์ม
 
หมายเหตุ ยีนที่เกี่ยวกับไลโคเพน ไซเคลส (lycopene cyclase) ซึ่งเดิมเชื่อว่าจำเป็นในกระบวนการนี้ด้วย แต่ภายหลังเชื่อว่า ไลโคเพน ไซเคลส ถูกสร้างขึ้นในเอนโดสเปิร์ม
ตามธรรมชาติ
 
 
== อ้างอิง ==