ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
Amherst99 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 94:
{{การทัพ แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)}}
 
'''แนวรบด้านตะวันออกใน[[สงครามโลกครั้งที่สอง]]''' เป็น[[ยุทธบริเวณ]]อันเป็นสนามรบระหว่าง[[นาซีเยอรมนี]] พันธมิตร[[ฝ่ายอักษะ|อักษะ]]ในทวีปยุโรป [[สหภาพโซเวียต]] และชาติซึ่งเข้าร่วมกับประเทศทั้งสอง กินอาณาบริเวณ[[ยุโรปตะวันออก]] บางส่วนของ[[ยุโรปเหนือ]]และ[[ยุโรปใต้]] ระหว่างวันที่ 22 มิถุนายน ค.ศ. 1941 ถึงวันที่ 11 พฤษภาคม ค.ศ. 1945 ยุทธบริเวณดังกล่าวเป็นที่รู้จักกันในหลายชื่อ ชื่อที่รู้จักกันมาก ได้แก่ '''"สงครามกู้ชาติอันยิ่งใหญ่"''' ({{lang-ru|Великая Отечественная Войнавойна}}) ในสหภาพโซเวียต; '''แนวรบด้านตะวันออก''' ({{lang-de|''die Ostfront''}})<ref>[http://www.russlandfeldzug.de/ ประวัติการรบในแนวรบด้านตะวันออก] {{de icon}}</ref>, การทัพตะวันออก ({{lang-de|''der Ostfeldzug''}}) หรือ '''การทัพรัสเซีย''' ({{lang-de|''der Rußlandfeldzug''}}) ในเยอรมนี<ref>[http://www.balsi.de/Weltkrieg/Verlauf/Russland/Russland-Startseite.htm Der Rußlandfeldzug] {{de icon}}</ref><ref>[http://www.torweihe.de/ 2. Weltkrieg] {{de icon}}</ref>
 
การรบบนแนวรบด้านตะวันออกถือได้ว่าเป็นการเผชิญหน้าทางทหารครั้งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ เนื่องจากปรากฏความรุนแรงอย่างไม่เคยมีมาก่อน การทำลายไม่เลือกหน้า การเนรเทศขนานใหญ่ รวมไปถึงการสูญเสียชีวิตอย่างมโหฬารเนื่องจากการบ ความอดอยาก โรคระบาด และการสังหารหมู่ นอกจากนี้ แนวรบด้านตะวันออกยังเป็นที่ตั้งของค่ายกักกัน การเดินขบวนแห่งความตาย เก็ตโต และการสังหารหมู่เกือบทั้งหมด จนถือได้ว่าเป็นศูนย์กลางของ[[การล้างชาติโดยนาซี]] จากตัวเลขผู้เสียชีวิตราว 50-70 ล้านคนใน[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] ประมาณการว่ามีผู้เสียชีวิตราว 30 ล้านคนในแนวรบด้านตะวันออก{{Ref_label|C|III|none}} เกือบครึ่งหนึ่งของความสูญเสียชีวิตในสงครามโลกครั้งที่สอง แนวรบด้านตะวันออกถือได้ว่ามีส่วนสำคัญในการตัดสินผลของสงครามโลกครั้งที่สอง และถือได้ว่าเป็นหนึ่งในสาเหตุสำคัญอันนำไปสู่ความพ่ายแพ้ของเยอรมนี<ref>{{Harvnb|Bellamy|2007|p=xix}}</ref> ผลของสงครามทำให้นาซีเยอรมนีล่มสลาย [[การแบ่งประเทศเยอรมนี]] และการก้าวขึ้นสู่[[รัฐอภิมหาอำนาจ]]ทางทหารและอุตสาหกรรมของสหภาพโซเวียตใน[[สงครามเย็น]]