ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิกฤตการณ์ขีปนาวุธคิวบา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Luckas-bot (คุย | ส่วนร่วม)
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
[r2.5.2] โรบอต แก้ไข: ka:კარიბის კრიზისი; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
บรรทัด 2:
[[ไฟล์:Cuban_crisis_map_missile_range.jpg|thumb|แผนที่แสดงอำนาจการทำลายล้างของขีปนาวุธที่คิวบา]]
 
'''วิกฤตการณ์ขีปนาวุธคิวบา''' ({{lang-en|Cuban Missle Crisis}}) คือการเผชิญหน้าทางทหารระหว่าง[[สหรัฐอเมริกา]]ฝ่ายหนึ่ง กับ[[สหภาพโซเวียต]] และ[[ประเทศคิวบา|ประเทศคิวบา]]อีกฝ่ายหนึ่ง ในช่วงเวลาที่[[สงครามเย็น]]อยู่ในช่วงความตึงเครียดจนเกือบจะกลายไปเป็น[[สงครามปรมาณู]] ชาวรัสเซียเรียกเหตุการณ์นี้ว่า'''วิกฤตการณ์แคริบเบียน''' ส่วนชาวคิวบาเรียกมันว่า'''วิกฤตการณ์เดือนตุลาคม''' เหตุการณ์ครั้งนี้ถือเป็นหนึ่งในการเผชิญหน้าครั้งสำคัญในสงครามเย็นนอกจาก[[การปิดล้อมเบอร์ลิน]]{{อ้างอิง}}
 
การเผชิญหน้าเริ่มขึ้นเมื่อวันที่ [[14 ตุลาคม]] [[ค.ศ. 1962]] เมื่อภาพถ่ายจากเครื่องบินสังเกตการณ์ [[ยู-2]] ของสหรัฐอเมริกา เผยให้เห็นฐานปล่อย[[ขีปนาวุธ]] กำลังถูกสร้างขึ้นในคิวบา ภายใต้การปกครองของ[[ฟิเดล คาสโตร]] เพื่อตอบโต้การสร้างฐานขีปนาวุธของสหรัฐอเมริกา ณ บริเวณพรมแดนของ[[ประเทศตุรกี|ตุรกี]]และสหภาพโซเวียต
บรรทัด 18:
| author = The American Presidency Project}}</ref>
 
สหรัฐอเมริกายังได้ทำปฏิบัติการลับและได้ส่งเจ้าหน้าที่[[ซีไอเอ]]เข้าไป<ref>Shadow Warrior: The CIA Hero of 100 unknown battles, Felix Rodriguez and John Weisman, Publisher: Simon & Schuster, October 1989, ISBN 9780671667214978-0-671-66721-4 </ref> นายพล[[เคอร์ติส เลอเมย์]]ได้แสดงแผนการทิ้งระเบิดให้กับเคเนดี้ในเดือนกันยายน ในขณะที่การบินสอดแนมและการก่อกวนขนาดเล็กจากฐานทัพเรือกวนตานาโมของสหรัฐอเมริกา เป็นสิ่งที่คิวบากล่าวโทษต่อรัฐบาลสหรัฐอเมริกา
 
ในเดือนกันยายน ค.ศ. 1962 รัฐบาลคิวบาได้เห็นหลักฐานสำคัญที่แสดงว่าสหรัฐอเมริกาจะทำการรุกรานตน<ref>Cuban resolution,october U.S. Public Law 87-733, S.J. Res. 230</ref> ผลที่ตามมาคือ คาสโตร และนายกรัฐมนตรีของสหภาพโซเวียต [[นิกิตา ครุสชอฟ]] ตกลงที่จะติดตั้งขีปนาวุธนิวเคลียร์อย่างลับ ๆ ในคิวบา ครุสชอฟรู้สึกว่าการรุกรานของสหรัฐอเมริกาต่อคิวบาเป็นสิ่งที่จะเกิดขึ้นในไม่ช้า และการสูญเสียคิวบาจะส่งผลร้ายแรงของการขยายตัวของคอมมิวนิสต์ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในละตินอเมริกา เขากล่าวว่าเขาต้องการเผชิญหน้ากับอเมริกาด้วยขีปนาวุธ<ref>quote in Weldes, J. - "Constructing National Interests: The United States and the Cuban Missile Crisis" University of Minnesota Press, 1999 p.29</ref>
บรรทัด 44:
 
เคเนดี้ได้เห็นภาพถ่ายในวันที่ 16 ตุลาคม<ref>[http://www.loc.gov/exhibits/archives/colc.html Revelations from the Russian Archives]</ref> เขาได้จัดการประชุมสภาความมั่นคงแห่งชาติขึ้น โดยมีเจ้าหน้าที่ระดับสูง 14 คนและน้องชายของเขาโรเบิร์ต เมื่อเวลา 9.00 สหรัฐไม่มีแผนที่จะจัดการกับภัยคุกคามในคิวบา เพราะว่าหน่วยข่าวกรองของสหรัฐนั้นเชื่อว่าโซเวียตไม่ได้ติดตั้งอาวุธนิวเคลียร์ไว้ในคิวบา ทางสภาความมั่นคงแห่งชาติได้รวมกันหาทางออกอย่างเร่งด่วนขึ้นมา 5 วิธี ได้แก่
:# ไม่ทำอะไรเลย
:# ใช้การเจรจาทางการทูตเพื่อกดดันให้สหภาพโซเวียตถอนขีปนาวุธออก
:# ใช้การโจมตีทางอากาศต่อขีปนาวุธ
:# ใช้กองทัพเข้าบุก
:# ทำการปิดล้อมทางทะเลต่อคิวบา ซึ่งจัดว่าเป็นการปิดกันประเทศอย่างจำกัด<ref>{{cite book
| last = Allison
| first = Graham
บรรทัด 82:
ในวันที่ 19 ตุลาคม การบินสอดแนมของยู-2 แสดงให้เห็นฐานยิงขีปนาวุธสี่แห่ง ในส่วนหนึ่งของการปิดกั้นกองทัพสหรัฐได้เตรียมตัวพร้อมอย่างมากในการใช้กำลังบังคับในการปิดกั้นและพร้อมสำหรับการเข้าบุกคิวบา กองพลยานเกราะที่ 1 ถูกส่งไปที่จอร์เจียและกองทัพบกห้ากองพลเตรียมพร้อมที่จะเข้าบุก ฝ่ายศูนบ์บัญชาการยุทธศาสตร์ทางอากาศได้ส่ง[[เครื่องบินทิ้งขนาดกลาง]][[บี-47 สตราโตเจ็ท]]ไปยังสนามบินพลเรือนและ[[เครื่องบินทิ้งระเบิดขนาดหนัก]][[บี-52 สตราโตฟอร์เทรส]]เข้าสู่การเตรียมพร้อม
 
== การกักประเทศ ==
ตามธรรมเนียมในทางปฏิบัติแล้วการปิดกั้นนั้นเป็นการขัดขวางเรือทุกประเภทไม่ให้เข้ามาในพื้นที่ที่ถูกปิดกั้น และจัดว่าเป็นการกระทำของสงคราม การกักประเทศนั้นดูเป็นทางเลือกที่ดีกว่า ในกรณีนี้จะมีการใช้อาวุธอย่างจำกัด
 
บรรทัด 113:
</ref>
 
== วิกฤติดำเนินต่อ ==
{{Cquote2|การโจมตีคิวบาโดยตรงจะทำให้เกิดสงครามนิวเคลียร์ อเมริกาพูดถึงการโจมตีดังกล่าวอย่างไม่รับรู้ความจริง สำหรับผมแล้วพวกเขาจะแพ้สงครามอย่างไม่ต้องสงสัย|[[เช กูวารา]] ตุลาคม 1962<ref>[http://www.timesonline.co.uk/tol/news/world/us_and_americas/article5062895.ece Attack us at your Peril, Cocky Cuba Warns US] by Henry Brandon, ''The Sunday Times'', October 28, 1962</ref>}}
 
บรรทัด 158:
ผลกระทบที่เกิดขึ้นจริงจากข้อตกลงของเคเนดี้และคุรสชอฟคือมันได้ทำให้ตำแหน่งของคาสโตรแข็งแกร่งขึ้นอย่างมากในคิวบา ซึ่งเขาจะไม่ถูกรุกล้ำโดยสหรัฐ มันเป็นไปได้ที่ครุสชอฟนำขีปนาวุธเข้าคิวบาเพียงเพื่อที่จะทำให้เคเนดี้ถอนขีปนาวุธออกจากตุรกี และโซเวียตนั้นไม่มีเจตนาในการเริ่มสงครามนิวเคลียร์หาพวกเขามีอาวุธน้อยกว่าฝ่ายอเมริกา อย่างไรก็ตามเนื่องมาจากการถอนขีปนาวุธออกจากตุรกีไม่ได้เปิดเผยต่อสาธารณะในเวลานั้น ครุสชอฟจึงดูเหมือนว่าพ่ายแพ้และกลายเป็นคนอ่อนแอ แนวคิดคือเคเนดี้มีชัยในการแข่งขันทางอำนาจและครุสชอฟก็ต้องอับอาย อย่างไรก็ดีครุสชอฟก็ยังครองอำนาจไปอีก 2 ปี<ref name=Faria>Faria p. 102-105</ref>
 
== ผลสืบเนื่อง ==
การประนีประนอมเป็นสิ่งที่น่าอายอย่างมากสำหรับครุสชอฟและสหภาพโซเวียต เพราะว่าการถอนขีปนาวุธของสหรัฐออกจากตุรกีนั้นไม่ได้เผยแพร่ต่อสาธารณะ—มันเป็นเพียงการตกลงอย่างลับๆ ระหว่างครุสชอฟกับเคเนดี้เท่านั้น ชาวรัสเซียมองว่ามันเป็นการถอยออกจากสถานการณ์ที่พวกเขาได้เริ่มเอาไว้—แม้ว่าหากพวกเขาทำตามแผนได้ดี ผลที่ออกมาอาจตรงกันข้าม
การสิ้นสุดอำนาจของครุสชอฟอีก 2 ปีต่อมาสามารถโยงไปถึงความน่าอับอายของคณะกรรมการโพลิทบูโรเพราะการยอมแพ้ต่อสหรัฐของครุสชอฟและการที่เขาไม่มีคุณสมบัติในการรับมือกับวิกฤติได้ทันท่วงที อย่างไรก็ดีวิกฤตการณ์ขีปนาวุธคิวบาไม่ใช้เพียงเหตุผลเดียวที่ทำให้คุรสชอฟสิ้นอำนาจ เหตุผลหลักมากจากนักการเมืองคู่แข่งอย่าง[[ลีโอนิด เบรสเนฟ]]ที่เชื่อว่าครุสชอฟมีอำนาจไม่มากพอที่จะรับมือกับปัญหาข้ามชาติ{{Citation needed|date=August 2007}}.
 
สำหรับคิวบามันคือการหักหลังของโซเวียต ด้วยวิธีการที่โซเวียตตัดสินใจที่จะแก้ไขปัญหานั้นมาจากเคเนดี้และครุสชอฟ สิ่งนี้ทำให้ความสัมพันธ์ระหว่างโซเวียตและคิวบาเสื่อมลงในอีกหลายปีต่อมา<ref>Ramonet, Ignacio, ''Fidel Castro: My Life''. Penguin Books: 2007, p. 278. ISBN 978-0-141014-2626102626-8</ref> ในอีกทางหนึ่งคิวบาก็ยังคงได้รับการป้องกันจากการเข้าบุก
 
ผู้บัญชาการของสหรัฐนายหนึ่งไม่ยินดีกับผลที่ออกมาเช่นกัน นายพลเลอร์เมย์บอกกับประธานาธิบดีว่ามันเป็นความพ่ายแพ้ครั้งใหญ่ที่สุดของสหรัฐ และเขาว่าสหรัฐน่าจะเข้าโจมตีทันที
บรรทัด 181:
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{คอมมอนส์|Cuban missile crisis}}
{{โครงทหาร}}
 
 
[[หมวดหมู่:สงครามเย็น]]
[[หมวดหมู่:พ.ศ. 2505]]
{{โครงทหาร}}
 
{{Link FA|simple}}
เส้น 215 ⟶ 214:
[[it:Crisi dei missili di Cuba]]
[[ja:キューバ危機]]
[[ka:კუბისკარიბის კრიზისი]]
[[kk:Кариб дағдарысы]]
[[ko:쿠바 미사일 위기]]