ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เพนเทียม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 27:
กับเมนบอร์ด Socket นอกจากนั้น ยังมีซีพ๊ยูบางรุ่น (75MHz-133MHz) สามารถทำงานบนเมนบอร์ดแบบ Socket 5 ได้ด้วย
 
เพนเทียมมีความคอมแพตทิเบิลกับระบบปฏิบัติการรุ่นเก่าทุกชนิด อาทิ DOS, Windows 3.1, Unix และ OS/2 การออกแบบในลักษณะซูเปอร์สเกลาร์ทำให้สามารถปรมวลผลคำสั่งได้ 2 คำสั่งต่อรอบสัญญาณนาฬิกา ซีพียูรุ่นนี้มีแคช 8KB แยกกัน 2 ชุด (แคชของโค้ดกับแคชข้อมูล) และมีหน่วยประมวลผลเชิงทศนิยมซื่งทำให้มีประสิทธิภาพเหนือกว่าซีพียูแบบ [[x86]] นอกจากนั้น เพนเทียมยังมีระบบจัดการพลังงาน SL ของ [[486SL]] เเละและมีการปรับปรุงคุณสมบัติข้อนี้ให้ดีขึ้นด้วย ซีพียูมีพินที่เชื่อมโยงกับเมนบอร์ด ถ้าหากมองภายในตัวซีพียูเเล้วแล้วที่จริงมันเป็นซีพียู 32 บิตสองอันที่เชื่อมเข้าด้วยกันเเต่เเยกแต่แยกการทำงาน
 
เพนเทียมรุ่นเเรกนเทียมรุ่นแรกกินไฟ 5 โวลต์ ดังนั้นมันจึงก่อความร้อนสูงมาก เเต่แต่เมื่อมาถึงรุ่น 100MHz อัตราการกินไฟลดลงเหลือ 3.3 โวลต์ นอกจากนั้นตั้งเเต่รุ่นตั้งแต่รุ่น 75MHz เป็นต้นมา ซีพียูยังสามารถทำงานเเบบแบบ SYMMETRIC DUAL PROCESSING ซื่งหมายถึงสามารถติดตั้งซีพียูเพนเทียมสองตัวในพีซีเครื่องเดียวกันได้ ถ้าเมนบอร์ดรองรับการติดตั้งดังกล่าว
 
เพนเทียมอยู่ในตลาดได้นานมาก อินเทลผลิตซีพียูรุ่นนี้ออกมาภายใต้ความเร็วต่าง ๆ เเละรูปเเบบต่างและรูปแบบต่าง ๆ ที่จริงเเล้วแล้วอินเทลได้ใส่สิ่งที่เรียกว่า "s-spec"eating ลงไปด้วย ซึ่งเป็นเครื่องหมายบนต้วซีพียู เพื่อบอกข้อมูลสำคัญเกี่ยวกับตัวซีพียู เพื่อให้ผู้ใช้สามารถเซตอัปเมนบอร์ดได้อย่างเหมาะสม
 
== ชิปอื่นๆ ที่ใช้ชื่อเพนเทียม ==