ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปลากระโห้"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Luckas-bot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: es:Catlocarpio siamensis
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 15:
| subfamilia = Cyprininae - Cyprinini
| genus = ''Catlocarpio''
| genus_authority = Boulenger, [[ค.ศ. 1898|1898]]
| species = ''C. siamensis''
| binomial = '''''Catlocarpio siamensis'''''
| binomial_authority = (Boulenger, [[ค.ศ. 1898|1898]])
}}
'''กระโห้''' เป็นชื่อปลาน้ำจืดขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง จัดเป็นปลาใน[[วงศ์ปลาตะเพียน]] (Cyprinidae) วงศ์ย่อยปลาตะเพียน ปลาพลวง (Cyprininae - Cyprinini) เป็นปลาน้ำจืดที่มีขนาดเกล็ดที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก และเป็นปลาในวงศ์ปลาตะเพียนที่มีขนาดใหญ่ที่สุดอีกด้วย<ref>หนังสือปลาน้ำจืดไทย โดย ดร.[[ชวลิต วิทยานนท์]] ([[กรุงเทพ]], [[พ.ศ. 2544]]) ISBN 974-475-655-5 </ref> โดยเฉลี่ยมักมีขนาดประมาณ 1.5 เมตร แต่พบใหญ่สุดได้ถึง 3 เมตร หนักได้ถึง 150 กก.[[กิโลกรัม]] ในอดีต เกล็ดปลากระโห้สามารถนำมาทอดรับประทานเป็นอาหารที่ขึ้นชื่อ
 
'''กระโห้''' เป็นชื่อปลาน้ำจืดขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง จัดเป็นปลาใน[[วงศ์ปลาตะเพียน]] (Cyprinidae) วงศ์ย่อยปลาตะเพียน ปลาพลวง (Cyprininae - Cyprinini) เป็นปลาน้ำจืดที่มีขนาดเกล็ดที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก และเป็นปลาในวงศ์ปลาตะเพียนที่มีขนาดใหญ่ที่สุดอีกด้วย<ref>หนังสือปลาน้ำจืดไทย โดย ดร.[[ชวลิต วิทยานนท์]] ([[กรุงเทพ]], [[พ.ศ. 2544]]) ISBN 974-475-655-5 </ref> โดยเฉลี่ยมักมีขนาดประมาณ 1.5 เมตร แต่พบใหญ่สุดได้ถึง 3 เมตร หนักได้ถึง 150 กก. ในอดีต เกล็ดปลากระโห้สามารถนำมาทอดรับประทานเป็นอาหารที่ขึ้นชื่อ
 
== ลักษณะทางกายภาพ ==
มี[[ชื่อวิทยาศาสตร์]]ว่า ''Catlocarpio siamensis'' จัดเป็นปลาเพียง[[สปีชีส์|ชนิด]]เดียว ที่อยู่ใน[[สกุล (ชีววิทยา)|สกุล]] ''Catlocarpio''<ref>[http://www.itis.gov/servlet/SingleRpt/SingleRpt ITIS]</ref> มีลักษณะสำคัญคือ ส่วนหัวโต ปากกว้าง ตาเล็ก ไม่มีหนวด ปลาวัยอ่อนหัวจะโตมากและลำตัวค่อนไปทางหาง ทำให้แลดูคล้ายปลาพิการไม่สมส่วน ขอบฝาปิดเหงือกมนกลมและใหญ่กว่าปลาชนิดอื่น ๆ ครีบหลังและครีบหางใหญ่ มีเกล็ดขนาดใหญ่ปกคลุมลำตัว บนเพดานปากมีก้อนเนื้อหนา เหงือกมีซี่กรองยาวและถี่มาก ตัวมีสีคล้ำอมน้ำเงินหรือน้ำตาลเข้ม ครีบมีสีแดงเรื่อ ๆ ด้านท้องมีสีจาง
 
== แหล่งอาศัย ==
พบเฉพาะในแม่น้ำสายใหญ่ ตั้งแต่[[แม่น้ำแม่กลอง]]ถึง[[แม่น้ำโขง]] ปลาวัยอ่อนมักอยู่รวมเป็นฝูงในวังน้ำลึก ปัจจุบันลดจำนวนลงไปมากเรื่องจากปัญหาเรื่องสิ่งแวดล้อมและการถูกจับเป็นจำนวนมาก จัดอยู่ในสถานภาพเป็นปลาใกล้สูญพันธุ์ชนิดหนึ่ง ปัจจุบัน ปลาชนิดนี้สามารถเพาะพันธุ์ได้แล้วเป็นบางส่วนจากการผสมเทียม ในธรรมชาติจะแพร่พันธุ์ระหว่างเดือนกรกฎาคม-กันยายน โดยจะวางไข่ลอยไปตามกระแสน้ำ ไข่มีสีเหลืองอ่อนลักษณะกึ่งลอยกึ่งจม เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1.4 มม.[[มิลลิเมตร]] ปริมาณไข่จะมีจำนวนมากนับล้าน ๆ ฟอง แต่ไข่ส่วนใหญ่และลูกปลาจะถูกปลาอื่นจับกินแทบไม่มีเหลือ
 
อาหารของปลากระโห้คือ [[แพลงก์ตอน]]และปลาขนาดเล็ก แต่ก็สามารถกินพืชเช่น สาหร่ายหรือเมล็ดพืชได้