ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปลาฝักพร้า"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
| color = silver
| name = ฝักพร้า
| image = ฝักพร้าoo.jpg
| image_width = 200px
| status = en
บรรทัด 12:
| subfamilia = Oxygastrini
| genus = ''[[ฝักพร้า|Macrochirichthys]]''
| genus_authority= Bleeker, [[ค.ศ. 1860|1860]]
| species = ''M. macrochirus''
| binomial = '''''Macrochirichthys macrochirus'''''
| binomial_authority = (Val. in Cuv. & Val., [[ค.ศ. 1844|1844]])
}}
'''ปลาฝักพร้า''' เป็นชื่อปลาน้ำจืดชนิดหนึ่งใน[[วงศ์ปลาตะเพียน]] (Cyprinidae) อยู่ในวงศ์ย่อย Oxygastrini ซึ่งเป็นวงศ์ย่อยปลาตะเพียนกินเนื้อ ปลาซิวอ้าว มี[[ชื่อวิทยาศาสตร์]]ว่า ''Macrocheilichthys macrocheilus'' มีลักษณะลำตัวยาวและแบนข้างคล้ายมีดดาบ ท้องเป็นสันแคบ ตาโต ปากกว้างเฉียงขึ้นด้านบน ปลายปากล่างโค้งเข้าเล็กน้อยคล้ายตะขอ ลำตัวสีเงินวาว ครีบใส ครีบอกใหญ่และยาวแหลม ครีบท้องและครีบหลังเล็ก แต่ครีบก้นมีฐานครีบยาว ครีบหางเว้าลึกและปลายมน โคนครีบหางมีแต้มสีคล้ำ ขนาดประมาณ 20-60 ซม[[เซนติเมตร]] จัดเป็นปลาเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ใน[[สกุล (ชีววิทยา)|สกุล]] ''Macrochirichthys''<ref>[http://www.itis.gov/servlet/SingleRpt/SingleRpt ITIS]</ref>
 
เป็นปลาล่าเหยื่อ มักหากินบริเวณใกล้ผิวน้ำ เป็นปลาที่ว่ายน้ำเร็วมาก อาหารได้แก่ ปลาขนาดเล็กจำพวก[[ปลาซิว]]และแมลง พบในแหล่งน้ำหลากและแม่น้ำขนาดใหญ่ใน[[ภาคกลาง]], [[ภาคอีสาน]] เช่น [[แม่น้ำเจ้าพระยา]], [[แม่น้ำโขง]] ใน[[ภาคใต้]]พบเฉพาะภาคใต้ฝั่งตะวันออกเท่านั้น
'''ฝักพร้า''' เป็นชื่อปลาน้ำจืดชนิดหนึ่งใน[[วงศ์ปลาตะเพียน]] (Cyprinidae) อยู่ในวงศ์ย่อย Oxygastrini ซึ่งเป็นวงศ์ย่อยปลาตะเพียนกินเนื้อ ปลาซิวอ้าว มี[[ชื่อวิทยาศาสตร์]]ว่า ''Macrocheilichthys macrocheilus'' มีลักษณะลำตัวยาวและแบนข้างคล้ายมีดดาบ ท้องเป็นสันแคบ ตาโต ปากกว้างเฉียงขึ้นด้านบน ปลายปากล่างโค้งเข้าเล็กน้อยคล้ายตะขอ ลำตัวสีเงินวาว ครีบใส ครีบอกใหญ่และยาวแหลม ครีบท้องและครีบหลังเล็ก แต่ครีบก้นมีฐานครีบยาว ครีบหางเว้าลึกและปลายมน โคนครีบหางมีแต้มสีคล้ำ ขนาดประมาณ 20-60 ซม.
 
เป็นปลาที่อาศัยอยู่ในแหล่งน้ำสะอาด ปัจจุบันอยู่ในสถานภาพใกล้สูญพันธุ์ (Endangered) เพราะสภาพแวดล้อมที่อยู่ถูกทำลายไปประกอบกับปริมาณปลาที่พบในธรรมชาติมีน้อยมาก จึงไม่ทำให้เป็นที่นิยมใน[[การประมง]]
เป็นปลาล่าเหยื่อ มักหากินบริเวณใกล้ผิวน้ำ เป็นปลาที่ว่ายน้ำเร็วมาก อาหารได้แก่ ปลาขนาดเล็กจำพวก[[ปลาซิว]]และแมลง พบในแหล่งน้ำหลากและแม่น้ำขนาดใหญ่ใน[[ภาคกลาง]] [[ภาคอีสาน]] เช่น [[แม่น้ำเจ้าพระยา]] [[แม่น้ำโขง]] ใน[[ภาคใต้]]พบเฉพาะภาคใต้ฝั่งตะวันออกเท่านั้น
 
ปลาฝักพร้า ยังมีชื่อเรียกอื่นที่เรียกต่างออกไป เช่น ท้องพลุ<ref>[http://guru.sanook.com/dictionary/dict_royals/?source_page=2&source_location=1&spell=%B7%E9%CD%A7%BE%C5%D8&x=8&y=15 ความหมายของคำว่า "ท้องพลุ" ตาม[[พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542]]]</ref>, ดาบลาว, ดาบญวน, โกร๋ม เป็นต้น
เป็นปลาที่อาศัยอยู่ในแหล่งน้ำสะอาด ปัจจุบันอยู่ในสถานภาพใกล้สูญพันธุ์ (Endangered) เพราะสภาพแวดล้อมที่อยู่ถูกทำลายไปประกอบกับปริมาณปลาที่พบในธรรมชาติมีน้อยมาก จึงไม่ทำให้เป็นที่นิยมในการประมง
 
ฝักพร้า ยังมีชื่อเรียกอื่นที่เรียกต่างออกไป เช่น ท้องพลุ, ดาบลาว, ดาบญวน, โกร๋ม เป็นต้น
 
==อ้างอิง==
*{{รายการอ้างอิง}}
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
เส้น 37 ⟶ 39:
[[หมวดหมู่:ปลาที่พบในลุ่มแม่น้ำโขง|ฝักพร้า]]
[[หมวดหมู่:ปลาที่พบในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา|ฝักพร้า]]
{{โครงสัตว์}}