121,157
การแก้ไข
ล (→อ้างอิง) |
ล (โรบอต เพิ่ม: mn:Барион; ปรับแต่งให้อ่านง่าย) |
||
'''แบริออน''' ({{lang-en|Baryon}}) เป็นตระกูลหนึ่งของ[[อนุภาค]][[อนุภาคประกอบ|ประกอบ]]ที่เกิดจาก[[ควาร์ก]] 3 ตัว ตรงข้ามกับ [[มีซอน]] ซึ่งเป็นตระกูลอนุภาคประกอบที่เกิดจากควาร์ก 1 ตัวและแอนติควาร์ก 1 ตัว ทั้งแบริออนและมีซอนต่างเป็นส่วนหนึ่งของตระกูลอนุภาคที่ใหญ่กว่า ประกอบด้วยอนุภาคทั้งหมดที่เกิดจากควาร์ก เรียกว่า [[ฮาดรอน]] คำว่า ''แบริออน'' มาจาก[[ภาษากรีก]] ว่า ''βαρύς'' (''แบรี'') มีความหมายว่า "หนัก" เนื่องจากเมื่อครั้งที่ตั้งชื่อนั้น เชื่อกันว่าแบริออนมีมวลมากกว่าอนุภาคอื่นๆ
จนถึงเร็วๆ นี้ ยังเชื่อกันว่ามีการทดลองบางอย่างที่สามารถแสดงถึงการมีอยู่ของ ''[[เพนตาควาร์ก]]'' หรือแบริออนประหลาดที่ประกอบด้วยควาร์ก 4 ตัวกับแอนติควาร์ก 1 ตัว<ref>H. Muir (2003)</ref><ref>K. Carter (2003)</ref> ชุมชนนักฟิสิกส์อนุภาคทั้งหมดไม่เคยมองการมีอยู่ของอนุภาคในลักษณะนี้มาก่อนจนกระทั่ง ค.ศ. 2006<ref name=PDGPentaquarks2006>W.-M. Yao ''et al.'' (2006): [http://pdg.lbl.gov/2006/reviews/theta_b152.pdf Particle listings –
เนื่องจากแบริออนประกอบด้วยควาร์ก มันจึงมี[[อันตรกิริยาอย่างเข้ม]] ตรงข้ามกับ[[เลปตอน]] ซึ่งไม่มีส่วนประกอบของควาร์ก จึงไม่มีคุณสมบัติอันตรกิริยาอย่างเข้ม แบริออนที่เป็นที่รู้จักมากที่สุดคือ [[โปรตอน]] และ [[นิวตรอน]] ซึ่งเป็นส่วนประกอบของมวลของ[[สสาร]]ที่มองเห็นได้ในเอกภพ ขณะที่[[อิเล็กตรอน]] (ส่วนประกอบหลักอีกอย่างหนึ่งของ[[อะตอม]]) เป็นเลปตอน แบริออนแต่ละตัวจะมีคู่ปฏิอนุภาคเรียกว่า แอนติแบริออน ซึ่งควาร์กจะถูกแทนที่ด้วยคู่ตรงข้ามของมันคือ แอนติควาร์ก ตัวอย่างเช่น [[โปรตอน]]ประกอบด้วย 2 ควาร์กอัพ และ 1 ควาร์กดาวน์ คู่ปฏิอนุภาคของมันคือ [[แอนติโปรตอน]] ประกอบด้วย 2 แอนติควาร์กอัพ และ 1 แอนติควาร์กดาวน์
{{อนุภาค}}
{{เรียงลำดับ|บแบริออน}}
{{โครงฟิสิกส์}}▼
[[หมวดหมู่:ฟิสิกส์อนุภาค]]
[[หมวดหมู่:แบริออน| ]]
▲{{โครงฟิสิกส์}}
[[ar:باريون]]
[[lt:Barionas]]
[[lv:Barioni]]
[[mn:Барион]]
[[ms:Barion]]
[[nl:Baryon]]
|