ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จำนวนสมบูรณ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Luckas-bot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: pms:Nùmer përfet
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต แก้ไข: nn:Fulkomne tal; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
บรรทัด 6:
จำนวนสมบูรณ์สี่ตัวแรกนั้นถูกค้นพบโดยชาว[[กรีกโบราณ]]
 
== จำนวนสมบูรณ์คู่ ==
 
[[ยุคลิด]]ได้ค้นพบว่า จำนวนสมบูรณ์สี่ตัวแรกนั้นสามารถหาโดยใช้สูตร 2<sup>''n''−1</sup>(2<sup>''n''</sup>&nbsp;−&nbsp;1) ได้
บรรทัด 18:
 
นักคณิตศาสตร์สมัยก่อน ได้ตั้งสมมติฐานเกี่ยวกับจำนวนสมบูรณ์จากจำนวนสมบูรณ์ที่เขารู้เพียง 4 ตัว ซึ่งสมมติฐานที่เขาได้ตั้งส่วนใหญ่จะผิด เช่น สมมติฐานที่ว่า เพราะว่า ''n'' = 2, 3, 5, 7 เป็นจำนวนเฉพาะ 4 ตัวแรก ที่นำไปแทนในสูตรแล้วได้ผลลัพธ์เป็นจำนวนสมบูรณ์ ดังนั้น ''n'' = 11 ซึ่งเป็นจำนวนเฉพาะตัวที่ 5 จะทำให้ได้ผลลัพธ์เป็นจำนวนสมบูรณ์เช่นกัน อย่างไรก็ตาม 2<sup>11</sup>&nbsp;−&nbsp;1&nbsp;=&nbsp;2047&nbsp;=&nbsp;23&nbsp;·&nbsp;89 ซึ่งไม่เป็นจำนวนเฉพาะ ดังนั้น สมมติฐานนี้จึงผิด '''สมมติฐานที่ผิด'''อีกสองข้อ ได้แก่
* จำนวนสมบูรณ์ตัวที่ 5 จะต้องมี 5 หลัก เพราะว่าจำนวนสมบูรณ์ 4 ตัวแรกมี 1, 2, 3, 4 หลัก ตามลำดับ
* จำนวนสมบูรณ์จะลงท้ายด้วยเลข 6 หรือ 8 สลับกันเสมอ
 
จำนวนสมบูรณ์ตัวที่ห้า (<math>33550336=2^{12}(2^{13}-1)</math>) มี 8 หลัก ดังนั้นสมมติฐานข้อแรกจึงผิด. สำหรับสมมติฐานข้อสองนั้น แม้ว่าจำนวนสมบูรณ์ตัวที่ห้า จะลงท้ายด้วยเลข 6 แต่จำนวนสมบูรณ์ตัวที่หก (8&nbsp;589&nbsp;869&nbsp;056) ไม่ได้ลงท้ายด้วยเลข 8 สมมติฐานข้อสองจึงผิด. เราสามารถพิสูจน์ได้ว่าจำนวนสมบูรณ์จะมีเลขหลักสุดท้ายเป็น 6 หรือ 8 เสมอ (แต่ไม่จำเป็นต้องสลับกัน)
 
คุณสมบัติของจำนวนสมบูรณ์อันหนึ่งที่น่าสนใจก็คือ [[ส่วนกลับ]]ของตัวประกอบของจำนวนสมบูรณ์ จะรวมกันได้ 2 เสมอ เช่น
* สำหรับ 6, จะได้ <math>1/6 + 1/3 + 1/2+ 1/1 = 2</math>
* สำหรับ 28, จะได้ <math>1/28 + 1/14 + 1/7 + 1/4 + 1/2 + 1/1 = 2</math>
 
== จำนวนสมบูรณ์คี่ ==
 
ยังไม่มีใครรู้ว่าจำนวนสมบูรณ์คี่นั้นมีอยู่จริงหรือไม่ เมื่อไม่นานมานี้ [[Carl Pomerance]] และ [[Joshua Zelinsky]] ได้แสดง[[ฮิวริสติก]]ว่าไม่มีจำนวนสมบูรณ์คี่อยู่จริง
บรรทัด 34:
* ''N'' จะอยู่ในรูป
::<math>N=q^{\alpha} p_1^{2e_1} \ldots p_k^{2e_k}, </math>
:เมื่อ ''q'', ''p''<sub>1</sub>, &hellip;, ''p''<sub>''k''</sub> คือ จำนวนเฉพาะที่แตกต่างกัน และ ''q'' &equiv; &alpha;α &equiv; 1 (mod 4) ([[ออยเลอร์]])
* ''N'' จะมากกว่า 10<sup>300</sup>
* ''N'' จะอยู่ในรูป 4''j'' + 1 (A. Stern, 1896)
บรรทัด 43:
* ''N'' จะอยู่ในรูป 12''j'' + 1 หริอ 36''j'' + 9 ([[Jacques Touchard]]) (วิธีพิสูจน์พื้นฐานถูกค้นพบโดย [[Judy A. Holdener]])
 
== อ้างอิง ==
* Kevin Hare, ''New techniques for bounds on the total number of prime factors of an odd perfect number.'' Preprint, 2005. อ่านได้จาก[http://www.math.uwaterloo.ca/~kghare/Preprints/ เว็บเพจของเขา]
 
บรรทัด 79:
[[nap:Nummero perfetto]]
[[nl:Perfect getal]]
[[nn:PerfektFulkomne tal]]
[[no:Perfekt tall]]
[[pl:Liczba doskonała]]