ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมัยการย้ายถิ่น"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mattis (คุย | ส่วนร่วม)
Mattis (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ใช้ปีคศ|width=300px}}
[[ไฟล์:Invasions of the Roman Empire 1.png|thumb|300px|แผนที่แสดงการโยกย้ายถิ่นฐานระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 2 ถึงที่ 5 อย่างง่ายๆ]]
'''สมัยการโยกย้ายถิ่นฐานในยุโรป''' หรือ '''สมัยการรุกรานของบาร์บาเรียน''' ({{lang-en|Migration Period หรือ Barbarian Invasions}}, {{lang-de|Völkerwanderung}}) เป็นสมัยของ[[การอพยพของมนุษย์]] (human migration) ที่เกิดขึ้นประมาณระหว่างปี ค.ศ. 300 ถึงปี ค.ศ. 700 ใน[[ทวีปยุโรป]],<ref>Precise dates given may vary; often cited is 410, the sack of Rome by Alaric I and 751, the accession of Pippin the Short and the establishment of the Carolingian Dynasty.</ref> ที่เป็นช่วงที่คาบระหว่าง[[ยุคโบราณตอนปลาย]] (Late Antiquity) ไปจนถึง[[ยุคกลางตอนต้น]] (Early Middle Ages) การโยกย้ายครั้งนี้มีสาเหตุมาจากทั้งการเปลี่ยนแปลงทางสถานะภาพของ[[จักรวรรดิโรมัน]]และที่เรียกว่า “พรมแดนบาร์บาเรียน” ชนกลุ่มที่อพยพโยกย้ายในยุคนี้ก็ได้แก่ชน[[กอธ]], [[แวนดัล]], [[บัลการ์]], [[อาลัน]], [[ซูบิ]], [[ฟรีเซียน]] และ [[แฟรงค์]] และชน[[เจอร์มานิค]] และ ชน[[สลาฟ]]บางกลุ่ม
 
การโยกย้ายถิ่นฐานของผู้คน--แม้ว่าจะมิได้เป็นส่วนหนึ่งของ “สมัยการโยกย้ายถิ่นฐาน” โดยตรง--ก็ยังคงดำเนินต่อไปจนหลังจาก ค.ศ. 1000 โดยการรุกราน[[ไวกิง]], [[แมกยาร์]], [[ชนเตอร์คิค]] และ[[การรุกรานของมองโกลในยุโรป]]ซึ่งมีผลกระทบกระเทือนอย่างรุนแรงต่อทางตะวันออกของยุโรป
บรรทัด 14:
 
ในบริเวณ[[กอล]]ชนแฟรงค์ผู้ซึ่งผู้นำเป็นพันธมิตรของโรมันอย่างเหนียวแน่นมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 3 ก็เริ่มเข้ามาตั้งถิ่นฐานในดินแดนโรมันอย่างสงบในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 5 และโดยทั่วไปก็เป็นที่ยอมรับว่าเป็นประมุขของชาวโรมัน-กอล [[จักรวรรดิแฟรงค์]]ผู้ต่อต้านการรุกรานจากชน[[อลามานนิ]], [[เบอร์กันดี]] และ[[วิซิกอธ]]เป็นส่วนสำคัญที่กลายมาเป็นฝรั่งเศสและเยอรมันนีต่อมา
 
 
[[Anglo-Saxon settlement of Britain|การตั้งถิ่นฐานของแองโกล-แซ็กซอนในบริเตน]]เริ่มขึ้นในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 5 หลังจากอิทธิพลของ[[บริเตนสมัยโรมัน|โรมันบริเตน]]สิ้นสุดลง<ref>cf. {{harvtxt|Dumville|1990}}</ref>