ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เอนโทรปีของข้อมูล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Parinya (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Parinya (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 32:
 
ลองนึกถึงตัวอย่างของการส่งข้อมูลจากแหล่งหนึ่งไปอีกแหล่งหนึ่ง โดยที่ข้อความที่เป็นไปได้มีทั้งหมด s แบบ ซึ่งก็คือ <math> x_1, x_2, \ldots, x_s </math> ข้อมูลแต่ละแบบมีความถี่ในการเกิดเป็น <math> k_1, k_2, \ldots, k_s </math> ตามลำดับ โดยที่จำนวนการเกิดของข้อมูลทั้งหมดเป็น <math> k= k_1+k_2 + \ldots + k_s </math> หากเรามีข้อมูลเพียงเท่านี้ โดยหลักการนับเบื้องต้น ความเป็นไปได้ของข้อความที่เกิดขึ้นทั้งหมดคือ
::<math> {k \choose k_1, k_2, \ldots, k_s} = \frac{k!}{k_1! k_2! \ldots k_s!} </math>
ในการที่ฝ่ายส่งข้อมูลส่งข้อความไปให้ฝ่ายรับ ฝ่ายส่งสามารถเลือกใช้การเข้ารหัสแบบใดก็ได้ แต่สิ่งสำคัญที่สุดอย่างหนึ่งที่ต้องคำนึงคือ "ฝ่ายรับต้องสามารถสร้างข้อความที่ได้รับมาให้กลับไปอยู่ในรูปแบบเดิมได้" นั่นก็คือ เีราจะไม่สนใจการเข้่ารหัสแบบแปลกประหลาดทั้งหลายที่ฝ่ายรับนำข้อมูลมาใช้ไม่ได้ ยกตัวอย่างเช่น ส่งข้อมูลทุกอย่างไปในรูปแบบของ "111" ฝ่ายรับไม่สามารถนำข้อมูลที่ได้รับมาไปใช้ได้เลย
 
ดังนั้น
 
[[หมวดหมู่:วิทยาการสารสนเทศ|อเนทโรปีของข้อมูล]]