ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปลาบู่มหิดล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 11:
| species = '''''M. mystacina'''''
| binomial = '''''Mahidolia mystacina'''''
| binomial_authority = (Valenciennes, [[ค.ศ. 1837|1837]])
| synonyms = <ref>[http://www.fishbase.org/Nomenclature/SynonymsList.php?ID=7240&SynCode=26452&GenusName=Mahidolia&SpeciesName=mystacina Synonyms of Mahidolia mystacina (Valenciennes, 1837)]</ref>
* ''Gobius mystacinus'' <small>Valenciennes, [[ค.ศ. 1837|1837]]</small>
* ''Gobius pulverulentus'' <small>Kuhl & van Hasselt, ค.ศ. 1837</small>
* ''Mahidiolia duque'' <small>Smith, [[ค.ศ. 1947|1947]]</small>
* ''Mahidiolia normani'' <small>Smith, ค.ศ. 1947</small>
* ''Waitea buchanani'' <small>Rao, [[ค.ศ. 1972|1972]]</small>
* ''Waitea mystacina'' <small>Valenciennes, [[ค.ศ. 1837|1937]]</small>
}}
'''ปลาบู่มหิดล''' (''Mahidolia mystacina'') เป็น[[ปลาบู่]]ที่พบใน[[ประเทศไทย]]เป็นครั้งแรก ที่[[อำเภอแหลมสิงห์]] [[จังหวัดจันทบุรี]] เมื่อ [[พ.ศ. 2475]] โดย ดร. [[ฮิว แมคคอร์มิค สมิธ]] และได้ตั้ง[[ชื่อวิทยาศาสตร์]]ตามพระนามของ[[สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก]] เพื่อเป็นการเทิดพระเกียรติ <ref>๑๐๐ ปี สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า 261 - 262</ref> และสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณของพระองค์ ในฐานะที่ได้ทรงอุปถัมภ์ และพระราชทานทุนสำหรับส่งนักเรียนไปศึกษาต่อด้านการประมงในต่างประเทศ <ref>[http://www.sakulthai.com/DSakulcolumndetailsql.asp?stcolumnid=2423&stissueid=2554&stcolcatid=1&stauthorid=6 พระราชประวัติและพระราชกรณียกิจ “พระราชบิดาแห่งการแพทย์ไทย”] สกุลไทย ฉบับที่ 2554 ปีที่ 49 ประจำวัน อังคาร ที่ 30 กันยายน 2546</ref> และทรงได้รับถวายสมัญญานามว่า "พระประทีปแห่งการอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์น้ำของไทย"<ref>ลือชัย ดรุณชู. (2536). การศึกษาชีววิทยาบางประการของปลาบู่มหิดลในแม่น้ำจันทบุรี. กรมประมง. หน้า 4.</ref>
 
== ประวัติ ==
บรรทัด 38:
 
=== ถิ่นอาศัยของปลาบู่มหิดล ===
ปลาบู่มหิดลชอบอาศัยในบริเวณปากแม่น้ำ และป่าชายเลนที่สภาพเป็นอ่าว พื้นทะเลเป็นโคลนปนทราย มักพบเสมอว่า ปลาชนิดนี้มีพฤติกรรมมักอาศัยอยู่กับ[[กุ้งดีดขัน]] (''Alpheas sp.'' spp.) โดยกุ้งเป็นผู้สร้างรูเป็นที่อาศัยร่วมกันกับปลา และปลาเป็นผู้ทำความสะอาดภายในรู <ref>สุด แสงวิเชียร. (2531). “ปลาบู่มหิดล บทความพิเศษ” โรงพยาบาลศิริราช ปีที่ 40 เล่ม 9 เดือนกันยายน. หน้า 659 – 666.</ref>
 
== แผนที่การกระจายของปลาบู่มหิดล ==
บรรทัด 49:
== กิจกรรมเกี่ยวกับปลาบู่มหิดล ==
 
เทศบาลตำบลปากน้ำแหลมสิงห์ โดยความร่วมมือจาก "โครงการจัดตั้งศูนย์การศึกษานิเวศวิทยาแหล่งที่พบปลาบู่มหิดล มหาวิทยาลัยมหิดล" (นำโดย ดร.ศุภกฤต โสภิกุล, นายทักษ์ ทองภูเบศร์ และคณะทำงาน) ภายใต้การดำเนินการของบุคลากรประกอบด้วย อาจารย์ เจ้าหน้าที่ และนักศึกษาในคณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ และคณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้จัดทำศูนย์การเรียนรู้เรื่อง "ปลาบู่มหิดล" ขึ้นในพื้นที่อำเภอแหลมสิงห์ จังหวัดจันทบุรี โครงการดังกล่าวมีรูปแบบเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้เกี่ยวกับมิติทางด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งการฟื้นฟูระบบนิเวศวิทยาพื้นที่แหล่งกำเนิดปลาบู่มหิดล <ref>ศุภกฤต โสภิกุล. (2552). เอกสารประกอบการบรรยายการจัดตั้งเครือข่ายสหวิทยาการแห่งราชบัณฑิตยสถาน ภาคตะวันออก (โครงการนำร่องการจัดทำเขตอนุรักษ์ปลาบู่มหิดลในแหลมสิงห์). ราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพมหานคร.</ref> และจากความเชื่อของคนไทยมาแต่โบราณเกี่ยวกับการปล่อยปลานั้น การปล่อยปลาบู่ถือว่า เป็นการทดแทนผู้มีพระคุณ {{อ้างอิง}} ฐานข้อมูลชนิดพันธุ์ที่ถูกคุกคามในประเทศไทย<ref>[http://chm-thai.onep.go.th/RedData/Default.aspx?DetailOf=Mahidolia%20mystacena อีกทั้งฐานข้อมูลชนิดพันธุ์ที่ถูกคุกคามในประเทศไทย]: Vulnerable (VU) ประเภทปลา</ref> ได้บันทึกว่า ปัจจุบันปลาบู่มหิดลมีแนวโน้มใกล้จะสูญพันธุ์
 
== อ้างอิง ==