ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ว็อล์ฟกัง เพาลี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tinuviel (คุย | ส่วนร่วม)
→‎อาชีพทางวิทยาศาสตร์: +แทนที่ "ดิราค" → "ดิแรก" ด้วยสจห.
Tinuviel (คุย | ส่วนร่วม)
→‎งานวิจัยทางวิทยาศาสตร์: +แทนที่ "ไฮเซนเบอร์ก" → "ไฮเซนแบร์ก" ด้วยสจห.
บรรทัด 39:
 
== งานวิจัยทางวิทยาศาสตร์ ==
[[ไฟล์:Bohr heisen pauli.jpg|thumb|[[นีลส์ บอร์]], [[แวเนอร์ ไฮเซนแบร์ก]], และโวล์ฟกัง เพาลี พ.ศ. 2478]]
 
เพาลีได้มีส่วนร่วมในการพัฒนาที่สำคัญมากมายในวิชาชีพของเขาในฐานะนักฟิสิกส์ หลักๆ แล้ว ก็คือ การพัฒนาในวิชา กลศาสตร์ควอนตัม เขาตีพิมพ์ผลงานน้อยมาก เขาชอบที่จะเขียนตอบโต้กับเพื่อนๆ ของเขามากกว่า (เพื่อนๆ ของเขา อย่างเช่น [[นีลส์ บอร์|บอร์]] และ [[แวเนอร์ ไฮเซนแบร์ก|ไฮเซนแบร์ก]] ซึ่งเป็นผู้ที่เขามีความสนิทสนม) ความคิดใหม่ๆ และ ผลงาน หลายๆ อย่างของเขา ไม่เคยถูกตีพิมพ์ และ ได้ปรากฏอยู่ในจดหมายของเขาเท่านั้น ซึ่งบ่อยครั้งที่จดหมายเหล่านั้นจะถูกพิมพ์ซ้ำและแจกจ่ายวนเวียนอยู่ในหมู่ผู้ที่ได้รับจดหมายของเขา เป็นที่แจ่มชัดว่าเพาลีไม่ได้ตระหนักในการที่งานของเขาไม่ได้รับการอ้างอิง ข้างล่างนี้เป็นผลงานสำคัญหลักๆ ที่เขาได้รับการอ้างอิงถึง
 
* [[พ.ศ. 2467]] เพาลีได้เสนอ องศาความอิสระทางควอนตัม (quantum degree of freedom) ใหม่อันหนึ่ง ซึ่งได้แก้ปัญหาการไม่ลงรอยกันระหว่าง แถบความถี่จำเพาะของโมเลกุล (molecular spectra) ที่สังเกตได้ กับ ทฤษฎี กลศาสตร์ควอนตัม ที่กำลังได้รับการพัฒนา เขาได้สร้างสูตร หลักการกีดกันของเพาลี ขึ้น บางที นี่อาจจะเป็นงานที่สำคัญที่สุดของเขา เนื้อหาของงานนี้มีใจความว่า อิเล็กตรอนสองตัวใดๆ ที่มี สถานะทางควอนตัม (quantum state) เดียวกัน ไม่สามารถอยู่ร่วมกันได้ หนึ่งปีหลังจากนั้น แนวคิดใหม่เกี่ยวกับสปินได้ถือกำเนิดขึ้นโดย ราล์ฟ ครอนิก, อูเลนเบค และ เกาด์สมิท เพื่อ ระบุ องศาความอิสระทางควอนตัม นี้ ในฐานะเป็น สปินของอิเล็กตรอน
* [[พ.ศ. 2469]] ไม่นานนักหลังจากที่ไฮเซนเบอร์ก แบร์กได้ตีพิมพ์ ทฤษฎีเมตริกซ์ของกลศาสตร์ควอนตัม สมัยใหม่ เพาลีได้ใช้มันในการสร้างสูตรที่ทำนาย เส้นความถี่จำเพาะของอะตอมของไฮโดรเจน ที่ได้รับการสังเกตไว้ ผลงานชิ้นนี้เป็นส่วนสำคัญในการคุ้มครองความน่าเชื่อถือของทฤษฎีของไฮเซนเบอร์กแบร์ก
* [[พ.ศ. 2470]] เขาได้เสนอ เมตริกซ์เพาลี เพื่อใช้เป็น ฐานหลัก ของ ตัวกระทำทางสปิน ซึ่งเป็นการแก้ปัญหา ทฤษฎีที่ไม่เป็นสัมพัทธภาพ ของ สปิน (nonrelativistic theory of spin) งานชิ้นนี้บางครั้งได้ถูกกล่าวถึงว่ามีอิทธิพลต่อ [[พอล ดิแรก|ดิแรก]] ในการค้นพบ[[สมการดิแรก]] สำหรับ อิเล็กตรอนที่เป็นสัมพัทธภาพ แม้ว่า ดิแรก ดิแรกจะกล่าวว่าเขาคิดค้น เมตริกซ์เดียวกันนี้ ด้วยตัวเขาเอง โดยที่ไม่ได้รับอิทธิพลทางความคิดจาก เพาลี เลย ดิแรก ดิแรกได้คิดค้น เมตริกซ์ ที่คล้ายๆ กัน แต่ใหญ่กว่า สำหรับใช้ในการแก้ปัญหา สปินแบบเฟอร์มิออน (fermionic spin) ที่เป็น สัมพัทธภาพ
* [[พ.ศ. 2473]] เพาลี ได้พิจารณาปัญหา [[การสลายของให้อนุภาคบีตา]] (beta decay) ในจดหมายของวันที่ 4 ธันวาคม เริ่มด้วยประโยค "สุภาพสตรี และ สุภาพบุรุษ แห่งการแผ่รังสี ที่รัก" (ส่งให้กับผู้รับ เช่น ลิส ไมท์เนอร์) เขาได้เสนอการมีอยู่ของ อนุภาคที่เป็นกลางทางไฟฟ้าที่ไม่เคยถูกสังเกตได้มาก่อน (นับถึง ณ เวลาที่เขาเขียนจดหมาย) ด้วยมวลที่น้อยนิด (ไม่เกิน ร้อยละ 1 ของ มวลของโปรตอน) เพื่อที่จะอธิบาย ความถี่จำเพาะต่อเนื่องของ การสลายตัวของเบต้าให้อนุภาคบีตา ในปี พ.ศ. 2477 [[เฟอร์มี]] ได้ รวมเอาอนุภาคนั้นไว้ในทฤษฎีการสลายตัวของเบต้าของเขา เฟอร์มีเรียกอนุภาคนั้นว่า [[นิวตริโน]] ในปี พ.ศ. 2502 นิวตริโนได้ถูกสังเกตได้เป็นครั้งแรกในเชิงการทดลอง
* [[พ.ศ. 2483]] เขาได้พิสูจน์ [[ทฤษฎีบทสปินเชิงสถิติ]] (spin-statistics theorem) ซึ่งเป็นผลมาจาก [[ทฤษฎีสนามควอนตัม]] (quantum field theory) ที่สำคัญยิ่งยวด ทฤษฎีนี้มีใจความว่า อนุภาคซึ่งมีสปินครึ่งหนึ่งของจำนวนเต็ม เป็นอนุภาค[[เฟอร์มิออน]] ในขณะที่อนุภาคที่มีสปินเป็นจำนวนเต็ม เป็นอนุภาค[[โบซอน]]
 
เพาลี ได้ให้คำวิจารณ์ซ้ำๆ หลายครั้ง สำหรับ การวิเคราะห์สมัยใหม่ ของ ชีววิทยาเชิงวิวัฒนาการ <ref>Pauli, W. (1954) Naturwissenschaftliche und erkenntnistheoretische Aspekte der Ideen vom
Unbewussten. ''Dialectica'' '''8''', 283–301</ref><ref>Atmanspacher, H. and Primas, H. (2006) [http://www.igpp.de/english/tda/pdf/paulijcs8.pdf Pauli’s ideas on mind and matter in the context of contemporary science]. ''Journal of Consciousness Studies'' '''13 (3) ''', 5-50.</ref> และ ผู้ซึ่งสนับสนุนเขาหลายคนได้ชีไปยัง การสืบทอดทาง เอพิเจนเนติกส์ (epigenetic inheritance) ซึ่งสนับสนุนข้อโต้แย้งของเขา <ref>[http://www.solid.ethz.ch/pauli-conference/thematic.htm การประชุมเรื่อง Wolfgang Pauli's Philosophical Ideas and Contemporary Science] จัดโดย [[ETH]] 20 - 25 พฤษภาคม 2550 บทคัดย่อของผลงานที่ถกเกี่ยวกับเรื่องนี้โดย ริชาร์ด จอร์เกนเซน (Richard Jorgensen) อยู่ที่ [http://www.solid.ethz.ch/pauli-conference/abstracts.htm นี่]</ref>