ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ว็อล์ฟกัง เพาลี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tinuviel (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Tinuviel (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "เปาลี" → "เพาลี" ด้วยสจห.
บรรทัด 20:
 
== ประวัติ ==
เปาเพาลีได้ถือกำเนิดขึ้นในกรุงเวียนนา โดยเป็นบุตรของ โวล์ฟกัง โยเซฟ เปาเพาลี และ เบร์ตา ซามิลลา เชทซ์ ชื่อกลางของเขาได้ถูกตั้งเพื่อเป็นเกียรติแก่พ่อในทางศาสนา ซึ่งเป็น นักฟิสิกส์ ชื่อ เอิร์นสต์ มาค พ่อของเปาเพาลี หรือ โวล์ฟกัง เปาเพาลี ซีเนียร์ (ชื่อเดิม วูล์ฟ พาสเคเลส) มี บิดา มารดา ที่มาจากครอบครัวชาวยิวที่มีชื่อเสียงใน[[กรุงปราก]] แต่เขาได้เปลี่ยนศาสนาจาก ยิว ไปเป็น โรมันคาทอลิก ไม่นานก่อนงานแต่งงานของเขาในปี พ.ศ. 2442 มารดาของเพาลี หรือ เบร์ตา เชทซ์ ถูกเลี้ยงมาในศาสนาโรมันคาทอลิก ซึ่งเป็นศาสนาของมารดาของเธอ แต่พ่อของเธอ (เฟียร์ดริช เชทซ์) เป็นนักเขียนชาวยิว แม้ว่า เปาเพาลี จะถูกเลี้ยงมาในศาสนาโรมันคาทอลิก ท้ายที่สุดเขา (และ บิดา มารดา ของเขา) ก็ออกจากศาสนานั้น <ref>{{cite web|url=http://www.jinfo.org/Physicists.html|title=นักฟิสิกส์ชาวยิว (ภาษาอังกฤษ)|access_date=2006-09-30}}</ref>
 
เปาเพาลี เข้าเรียนในโรงเรียน เดอบลิงเงอร์-คุมเนเซียม ในเวียนนา จบจากโรงเรียนด้วยความโดดเด่นพิเศษ ในปี พ.ศ. 2461 โดยเพียงสองเดือนก่อนที่เขาจบการศึกษา ผลงานของเด็กมหัศจรรย์หนุ่มคนนี้เกี่ยวกับ ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป ของ ไอน์สไตน์ ก็ได้รับการตีพิมพ์ เขาได้เข้าศึกษาต่อที่ มหาวิทยาลัย ลุดวิค-เมกซิมิลเลียนส์ ของ มิวนิค โดยทำงานภายใต้การดูแลของ ซอมเมอร์เฟลด์ เขาได้รับปริญญาดุษฎีบัณฑิต ใน เดือนกรกฎาคม ปี พ.ศ. 2464 จากมหาวิทยาลัยแห่งนี้ ด้วยหัวข้อวิทยานิพนธ์ เกี่ยวกับ ทฤษฎีควอนตัม ของ โมเลกุลไฮโดรเจน ที่มีประจุ ซอมเมอร์เฟลด์ ขอให้ เพาลี เขียนอธิบายทบทวน ทฤษฎีสัมพัทธภาพ สำหรับ ''Encyklopaedie der mathematischen Wissenschaften'' ("สารานุกรม ของ วิทยาศาสตร์ที่บรรยายด้วยคณิตศาสตร์") ซึ่งเป็น สารานุกรมของชาวเยอรมัน สองเดือนหลังจากได้รับปริญญาเอก เพาลี ก็ เขียนบทความสำเร็จ ซึ่งมีทั้งหมดถึง 237 หน้า มันเป็นผลงานที่ได้รับการสรรเสริญจาก ไอน์ไตน์ และได้รับการตีพิมพ์เป็นบทความเดี่ยว บทความนี้ยังคงเป็นบทความอ้างอิงมาตรฐาน เกี่ยวกับสัมพัทธภาพทั่วไป มากระทั่งถึงทุกวันนี้
 
เขาได้ใช้เวลาหนึ่งปีที่ มหาวิทยาลัย ของ เกททิงเคน (University of Göttingen) ในฐานะผู้ช่วยของ มากซ์ บอร์น และ อีกหนึ่งปีถัดจากนั้น ที่สถานที่ซึ่งตอนนี้กลายมาเป็น สถาบัน นีลส์ บอห์ร สำหรับฟิสิกส์ทฤษฎี (Niels Bohr Institute for Theoretical Physics) ในกรุง[[โคเปนเฮเกน]] เขาได้ใช้เวลาช่วง ปี พ.ศ. 2466 ถึง 2471 ในฐานะผู้บรรยาย ที่ มหาวิทยาลัย ของ ฮามบรูก (University of Hamburg) ในช่วงนี้เอง เพาลี ได้เป็นกุญแจสำคัญในการพัฒนา ทฤษฎีใหม่ ของ [[กลศาสตร์ควอนตัม]] เมื่อกล่าวโดยเจาะจงแล้ว เขาได้พัฒนาสูตร หลักการกีดกัน และ ทฤษฎีที่ไม่เป็นสัมพัทธภาพ ของ สปิน (nonrelativistic theory of spin) ดูเพิ่มเติมข้างล่าง สำหรับรายชื่อผลงานทางวิทยาศาสตร์ของเขา
 
ในเดือน พฤษภาคม ปี พ.ศ. 2472 เพาลี ได้ออกจากศาสนา โรมันคาทอลิก และ ในเดือนธันวาคม ปีเดียวกันนั้น เขาได้แต่งงานกับ เคเธ มาคาเรธเธ เดพเนอร์ การแต่งงานครั้งนี้ไม่ได้รื่นรมย์นัก เพราะจบด้วยการหย่าร้าง ในปี 2473 ด้วยเวลาเพียงไม่ถึงปี ในต้นปี พ.ศ. 2474 หลังจากการหย่าร้างไม่นานนัก และ ทันทีหลังจากการเสนอการมีอยู่ของ [[นิวตริโน]] เปาเพาลี ได้มีอาการผิดปกติทางจิต เขาได้ไปปรึกษากับจิตแพทย์ และ นักจิตบำบัด ที่ชื่อ คาร์ล จัง ผู้ซึ่งอาศัยใกล้กับ เซริค (Zürich) เหมือนกับ เปาเพาลี
 
จัง ได้เริ่มแปลความฝันที่เกิดขึ้นซ้ำๆ กัน (archetypal dreams) ของ เปาเพาลี โดยทันที และ เพาลีได้กลายเป็นหนึ่งในนักเรียนที่ดีที่สุดของ นักจิตวิทยาในเชิงลึก ไม่นานนัก เขาได้เริ่มที่จะวิจารณ์ กระบวนการความรู้ (epistemology) เกี่ยวกับ ทฤษฎีของ จัง อย่างเป็นวิทยาศาสตร์ และ ได้มีส่วนที่ทำให้ ความเห็นในภายหลัง มีความกระจ่างขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับ ประสบการณ์เหตุการณ์ซ้อน (synchronicity) บทสนทนาจำนวนมากได้ถูกบันทึกไว้ใน จดหมาย เพาลี/จัง และ ในปัจจุบัน ได้รับการตีพิมพ์ในชื่อ "Atom and Archetype" (อะตอม และ บริบทเกิดซ้ำ) การวิเคราะห์อย่างถ้วนถี่ของจัง มากกว่า 400 รายการเกี่ยวกับความฝันของ เพาลี ได้ถูกทำให้เป็นอกสารในชื่อ “Psychology and Alchemy” (จิตวิทยา กับ การเล่นแร่แปรธาตุ) <ref>Jung, C.G. (1980). Psychology and Alchemy. Princeton, New Jersey: Princeton Univ. Press</ref>
 
ในปี พ.ศ. 2471 เขาได้รับการแต่งตั้งให้เป็น ศาสตราจารย์ทางฟิสิกส์ทฤษฎี ที่ ETH ใน เซริค สวิตเซอร์แลนด์ ที่ซึ่งเขาได้ก่อให้เกิดความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์อย่างมีนัยสำคัญ เขาได้รับ สถานภาพศาสตราจารย์เยือน ที่ มหาวิทยาลัย ของ มิชิแกน ในปี พ.ศ. 2474 และ ที่ สถาบันสำหรับการศึกษาก้าวหน้า (the Institute for Advanced Study) ใน ปรินซ์ตัน ในปี พ.ศ. 2478 เขาได้รับ เหรียญ ลอเรนทซ์ ในปี พ.ศ. 2474 ในปี พ.ศ. 2477 เขาได้แต่งงานกับ ฟรานซิสคา เบอร์ทแรม การแต่งงานครั้งนี้ได้ยืนยาวไปจนถึงวาระสุดท้ายของชีวิตของเขา อนึ่ง เขาทั้งสองไม่มีบุตร ธิดา ร่วมกัน
บรรทัด 34:
การผนวกยึดครองดินแดนของออสเตรีย เข้าร่วมกับ เยอรมัน ในปี 2481 ได้ทำให้ เพาลี เป็นพลเมืองของ เยอรมัน ซึ่งกลายเป็นความยากลำบาก เมื่อสงครามโลกครั้งที่สองได้ประทุขึ้น ในปี พ.ศ. 2482 เพาลีได้ย้ายไปอยู่ที่ สหรัฐอเมริกาในปี 2483 ที่ซึ่งเขาได้เป็นศาสตราจารย์ทางด้านฟิสิกส์ทฤษฎี ให้กับ ปรินซ์ตัน เขาได้แปลงสัญชาติเป็นอเมริกัน ในปี พ.ศ. 2489 หลังจากสงครามจบลง ก่อนที่จะ กลับไปอยู่ที่ เซริค ซึ่งเป็นที่ที่เขาได้พำนักอยู่โดยมากก่อนเขาเสียชีวิตในปี พ.ศ. 2488 เขาได้รับ[[รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์]] ''"สำหรับการค้นพบหลักการกีดกัน ซึ่งถูกเรียกได้อีกอย่างว่า หลักของเพาลี"'' ซึ่งผู้เสนอชื่อให้รับรางวัลก็คือ[[ไอน์สไตน์]]
 
ในปี พ.ศ. 2501 เปาเพาลีได้รับ เหรียญ มากซ์ พลางค์ ในปีเดียวกันนั้นเอง เขาได้ป่วยด้วยโรคมะเร็งในตับ เมื่อ ชารลส์ เอนซ์ ผู้ช่วยคนสุดท้ายของเขา ได้เข้าเยี่ยมเขาที่ โรงพยาบาล รอทเครอุซ (Rotkreuz hospital) ในเมืองเซริค เพาลีได้ถามเขาว่า "คุณเห็นหมายเลขของห้องหรือเปล่า" มันคือหมายเลข 137 ตลอดชีวิตของเขา เพาลี ได้ใช้เวลาเพื่อตอบคำถามที่ว่า ทำไม [[ค่าคงตัวโครงสร้างละเอียด]] (fine structure constant) ซึ่งเป็น ค่าคงตัวพื้นฐานที่ไม่มีมิติ ถึงได้มีค่าเกือบจะเท่ากับ 1/137 เปาเพาลีเสียชีวิตในห้องนั้น ในวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2501
 
== อาชีพทางวิทยาศาสตร์ ==
เปาเพาลีได้มีส่วนร่วมในการพัฒนาที่สำคัญมากมายในวิชาชีพของเขาในฐานะนักฟิสิกส์ หลักๆ แล้ว ก็คือ การพัฒนาในวิชา กลศาสตร์ควอนตัม เขาตีพิมพ์ผลงานน้อยมาก เขาชอบที่จะเขียนตอบโต้กับเพื่อนๆ ของเขามากกว่า (เพื่อนๆ ของเขา อย่างเช่น [[บอห์ร]] และ [[ไฮเซนเบอร์ก]] ซึ่งเป็นผู้ที่เขามีความสนิทสนม) ความคิดใหม่ๆ และ ผลงาน หลายๆ อย่างของเขา ไม่เคยถูกตีพิมพ์ และ ได้ปรากฏอยู่ในจดหมายของเขาเท่านั้น ซึ่งบ่อยครั้งที่จดหมายเหล่านั้นจะถูกพิมพ์ซ้ำและแจกจ่ายวนเวียนอยู่ในหมู่ผู้ที่ได้รับจดหมายของเขา เป็นที่แจ่มชัดว่าเพาลีไม่ได้ตระหนักในการที่งานของเขาไม่ได้รับการอ้างอิง ข้างล่างนี้เป็นผลงานสำคัญหลักๆ ที่เขาได้รับการอ้างอิงถึง
 
* [[พ.ศ. 2467]] เปาเพาลีได้เสนอ องศาความอิสระทางควอนตัม (quantum degree of freedom) ใหม่อันหนึ่ง ซึ่งได้แก้ปัญหาการไม่ลงรอยกันระหว่าง แถบความถี่จำเพาะของโมเลกุล (molecular spectra) ที่สังเกตได้ กับ ทฤษฎี กลศาสตร์ควอนตัม ที่กำลังได้รับการพัฒนา เขาได้สร้างสูตร หลักการกีดกันของเพาลี ขึ้น บางที นี่อาจจะเป็นงานที่สำคัญที่สุดของเขา เนื้อหาของงานนี้มีใจความว่า อิเล็กตรอนสองตัวใดๆ ที่มี สถานะทางควอนตัม (quantum state) เดียวกัน ไม่สามารถอยู่ร่วมกันได้ หนึ่งปีหลังจากนั้น แนวคิดใหม่เกี่ยวกับสปินได้ถือกำเนิดขึ้นโดย ราล์ฟ ครอนิก, อูเลนเบค และ เกาด์สมิท เพื่อ ระบุ องศาความอิสระทางควอนตัม นี้ ในฐานะเป็น สปินของอิเล็กตรอน
* [[พ.ศ. 2469]] ไม่นานนักหลังจากที่ไฮเซนเบอร์ก ได้ตีพิมพ์ ทฤษฎีเมตริกซ์ของกลศาสตร์ควอนตัม สมัยใหม่ เพาลีได้ใช้มันในการสร้างสูตรที่ทำนาย เส้นความถี่จำเพาะของอะตอมของไฮโดรเจน ที่ได้รับการสังเกตไว้ ผลงานชิ้นนี้เป็นส่วนสำคัญในการคุ้มครองความน่าเชื่อถือของทฤษฎีของไฮเซนเบอร์ก
* [[พ.ศ. 2470]] เขาได้เสนอ เมตริกซ์เพาลี เพื่อใช้เป็น ฐานหลัก ของ ตัวกระทำทางสปิน ซึ่งเป็นการแก้ปัญหา ทฤษฎีที่ไม่เป็นสัมพัทธภาพ ของ สปิน (nonrelativistic theory of spin) งานชิ้นนี้บางครั้งได้ถูกกล่าวถึงว่ามีอิทธิพลต่อ [[ดิราค]] ในการค้นพบ[[สมการดิราค]] สำหรับ อิเล็กตรอนที่เป็นสัมพัทธภาพ แม้ว่า ดิราค จะกล่าวว่าเขาคิดค้น เมตริกซ์เดียวกันนี้ ด้วยตัวเขาเอง โดยที่ไม่ได้รับอิทธิพลทางความคิดจาก เพาลี เลย ดิราค ได้คิดค้น เมตริกซ์ ที่คล้ายๆ กัน แต่ใหญ่กว่า สำหรับใช้ในการแก้ปัญหา สปินแบบเฟอร์มิออน (fermionic spin) ที่เป็น สัมพัทธภาพ
* [[พ.ศ. 2473]] เปาเพาลี ได้พิจารณาปัญหา การสลายตัวของเบต้า (beta decay) ในจดหมายของวันที่ 4 ธันวาคม เริ่มด้วยประโยค "สุภาพสตรี และ สุภาพบุรุษ แห่งการแผ่รังสี ที่รัก" (ส่งให้กับผู้รับ เช่น ลิส ไมท์เนอร์) เขาได้เสนอการมีอยู่ของ อนุภาคที่เป็นกลางทางไฟฟ้าที่ไม่เคยถูกสังเกตได้มาก่อน (นับถึง ณ เวลาที่เขาเขียนจดหมาย) ด้วยมวลที่น้อยนิด (ไม่เกิน ร้อยละ 1 ของ มวลของโปรตอน) เพื่อที่จะอธิบาย ความถี่จำเพาะต่อเนื่องของ การสลายตัวของเบต้า ในปี พ.ศ. 2477 [[เฟอร์มี]] ได้ รวมเอาอนุภาคนั้นไว้ในทฤษฎีการสลายตัวของเบต้าของเขา เฟอร์มีเรียกอนุภาคนั้นว่า นิวตริโน ในปี พ.ศ. 2502 นิวตริโนได้ถูกสังเกตได้เป็นครั้งแรกในเชิงการทดลอง
* [[พ.ศ. 2483]] เขาได้พิสูจน์ [[ทฤษฎีบทสปินเชิงสถิติ]] (spin-statistics theorem) ซึ่งเป็นผลมาจาก [[ทฤษฎีสนามควอนตัม]] (quantum field theory) ที่สำคัญยิ่งยวด ทฤษฎีนี้มีใจความว่า อนุภาคซึ่งมี สปิน ครึ่งหนึ่งของจำนวนเต็ม เป็น [[เฟอร์มิออน]] ในขณะที่ อนุภาคที่มี สปิน เป็นจำนวนเต็ม เป็น [[โบซอน]]
 
บรรทัด 49:
 
== บุคลิก และ เรื่องเล่าลือ ==
ปรากฏการณ์เพาลี ได้รับการตั้งชื่อ ดามความสามารถอันแปลกประหลาดของเขาที่สามารถทำอุปกรณ์การทดลองพังเพียงแค่เขาอยู่ใกล้เท่านั้น ตัวของเปาเพาลีเองก็ตระหนักถึงเรื่องเล่าลือเรื่องนี้ และ ยินดีเบิกบาน ที่เมื่อไหร่ก็ตามที่ปรากฏการณ์นี้บังเกิดขึ้น
 
ในทางฟิสิกส์แล้ว เพาลีถึอได้ว่าเป็นนักยึดความสมบูรณ์แบบที่โด่งดัง ความประพฤตินี้ไม่ได้เพียงแค่ครอบคลุมงานของเขาเท่านั้น แต่ยังขยายตัวไปสู่งานของเพื่อนร่วมงานด้วย ด้วยเหตุนี้ เขาจึงกลายเป็นที่รู้จักภายในชุมชนฟิสิกส์ในฐานะ "ความตื่นตัวของฟิสิกส์" นักติเตียนสำหรับผู้ที่เพื่อนร่วมงานของเขาต้องได้รับผิดชอบด้วย เขาอาจจะวิจารณ์อย่างเสียๆ หายๆ ในการขับไล่ทฤษฎีใดๆ ก็ตามที่เขาพบว่าไม่สมบูรณ์ และ บ่อยครั้งที่ประกาศว่า มัน ganz falsch หรือ ผิดอย่างสมบูรณ์
บรรทัด 79:
 
{{รายนามผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์}}
{{เรียงลำดับ|วโวล์ฟกัง เอิร์นสต์ เปาเพาลี}}
{{เกิดปี|2443}}
{{ตายปี|2501}}