ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลูกดิ่ง (เครื่องมือ)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
M-Bot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่คำอัตโนมัติ (-[[ภาพ: +[[ไฟล์:) ด้วยบอต
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: szl:Blaj (narzyńdźe); ปรับแต่งให้อ่านง่าย
บรรทัด 8:
ตุ้มน้ำหนักที่ใช้ทำเป็นลูกดิ่ง เดิมทีนิยมใช้ดีบุกเป็นวัสดุหลัก แม้ในปัจจุบันลูกดิ่งมีรูปแบบที่หลากหลาย แต่วัสดุที่ใช้ทำตุ้มน้ำหนักยังนิยมใช้โลหะเป็นวัสดุหลัก
 
== การใช้งาน ==
[[ไฟล์:US Navy 081008-N-3560G-424 Utilitiesman 3rd Class James Tofil ensures that the grade beams are plumb before the placement of concrete.jpg|thumb|150px|การใช้ลูกดิ่งตรวจสอบแนวเทคอนกรีต]]
ลูกดิ่ง เป็นเครื่องมือสำคัญสำหรับการอ้างอิงแนวดิ่ง โดยเฉพาะงานก่อสร้างโครงสร้างสูงต่างๆ จะใช้ลูกดิ่งในการหาเส้นแนวดิ่งสำหรับใช้อ้างอิงการวัดระยะต่างๆ เพื่อการก่อสร้าง โดยการปล่อยให้ตุ้มน้ำหนักห้อยอย่างอิสระจนนิ่ง จากนั้นจึงเคลื่อนจุดแขวนลูกดิ่งจนกระทั่งปลายแหลมของตุ้มน้ำหนักจรดตรงกับตำแหน่งอ้างอิงบนพื้น ก็จะได้ว่าแนวเชือกที่ห้อยตุ้มน้ำหนักไว้นั้น คือเส้นแนวดิ่งจากจุดอ้างอิงบนพื้น
บรรทัด 22:
 
 
=== การหาจุดศูนย์ถ่วงของวัตถุรูปทรงอิสระ ===
ลูกดิ่งยังใช้เป็นเครื่องมือสำหรับหา[[จุดศูนย์ถ่วง]] เช่น ในการเขียนภาพ ซึ่งจำเป็นต้องหาจุดศูนย์ถ่วงของวัตถุ เพื่ออ้างอิงในการเขียนภาพให้สมบูรณ์และได้สมดุลย์ถูกต้องตามหลัก[[สรีรศาสตร์]] โดยผู้เขียนภาพจะเริ่มจากการเขียนภาพของวัตถุลงบนแผ่นกระดาษ จากนั้นจึงนำไปห้อยที่จุดแขวนลูกดิ่ง เพื่อหาแนวเส้นผ่านจุดศูนย์ถ่วง ทำซ้ำเช่นนี้หลายครั้ง โดยเปลี่ยนจุดห้อยของภาพเขียนดังกล่าวไปเรื่อย จะได้ว่าจุดตัดของเส้นผ่านจุดศูนย์ถ่วงแต่ละเส้น คือจุดศูนย์ถ่วงของภาพเขียนนั้น
 
บรรทัด 46:
[[ru:Отвес]]
[[sv:Lod (vikt)]]
[[szl:Blaj (narzyńdźe)]]
[[tl:Pahulog]]
[[uk:Висок]]