ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จังหวัดเชียงราย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 31:
| เว็บไซต์ = http://www.chiangrai.net
}}
'''จังหวัดเชียงราย''' เป็น[[จังหวัด]]ที่อยู่ทางตอนเหนือ[[ที่สุดในประเทศไทย|ที่สุดของประเทศไทย]] ตั้งศาลากลางที่[[ตำบลเวียง (อำเภอเมืองเชียงราย)|ตำบลเวียง]] [[อำเภอเมืองเชียงราย]] อาณาเขตทิศเหนือจรด[[แขวงเมืองสาด]] และ[[แขวงท่าขี้เหล็ก]] [[รัฐฉาน]] [[ประเทศสาธารณรัฐสหภาพพม่า]] โดยมี[[ทางหลวงแผ่นดิน]]ทะลุผ่านถึงกันทาง[[ถนน]]ที่เชื่อมต่อไปยัง[[ประเทศพม่า]]ที่[[ด่านพรมแดนแม่สาย]] [[อำเภอแม่สาย]] [[จังหวัดเชียงราย]] ส่วนทิศตะวันออกเฉียงเหนือติดต่อกับ[[แม่น้ำโขง]] ทิศตะวันออกจดทิวเขา[[หลวงพระบาง]]ซึ่งปันเขตแดนไทยกับ[[ประเทศลาว|สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว]] และติดต่อกับ[[จังหวัดพะเยา]] ทิศใต้กับ[[จังหวัดพะเยา]] [[จังหวัดลำปาง]] และ[[จังหวัดเชียงใหม่|เชียงใหม่]] ส่วนทิศตะวันตกกับ[[จังหวัดเชียงใหม่]]ซึ่งเรียกว่าภูลังกา เป็นยอดเขาที่มีเส้นแดนติดกันทั้ง [[3]] [[จังหวัด]]บนยอดเขา
 
จังหวัดเชียงรายเป็น[[เมือง]]ท่องเที่ยวที่สำคัญ เป็น[[จังหวัด]]ที่ใหญ่อีก[[จังหวัด]][[หนึ่ง]]ของ[[ประเทศไทย]] โดยมีพิ้นที่[[จังหวัด]]ใหญ่เป็นอันดับที่ [[12]] ของประเทศไทยและเป็นเมืองเศรษฐกิจสำคัญตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจชายแดนจีนตอนใต้-[[อินโดจีน]]
 
== พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ ==
บรรทัด 223:
* [[ถ้ำหลวง-ขุนน้ำนางนอน]]
* [[วนอุทยานน้ำตกขุนน้ำยาบ]]
* [[วนอุทยานน้ำตกดอนศิลา-ผางาม]]
* [[วนอุทยานน้ำตกตาดควัน]]
* [[วนอุทยานน้ำตกตาดสวรรค์]]
{{col-3}}
* [[วนอุทยานน้ำตกตาดสายรุ้ง]]
* [[วนอุทยานน้ำตกมิโอฉ่อแต๊ะ]]
* [[วนอุทยานน้ำตกแม่โท]]
* [[วนอุทยานน้ำตกแม่สลอง]]
บรรทัด 247:
* [[วนอุทยานห้วยน้ำช้าง]]
{{col-end}}
'''สวนรุกชาติ''' (Arboretum) จังหวัดเชียงรายมีสวนรุกชาติรุกขชาติเพียงแห่งเดียว คือ [[สวนรุกชาติโป่งสลี]] [[อำเภอเมืองเชียงราย]] มีพื้นที่ 668.75 [[ไร่]] พันธุ์ไม้ส่วนใหญ่เป็น[[ไม้สัก]]ขนาดใหญ่ ซึ่งเป็น[[ป่า]]เดิมที่เหลืออยู่และมีการปลูกต้นไม้อื่นๆ แทรกบ้าง
 
'''ป่าสงวนแห่งชาติ''' (National Reserved Forest) จังหวัดเชียงรายมีป่าสงวนทั้งหมด [[30]] แห่ง
มีพื้นที่รวม 4,485,966 [[ไร่]] คิดเป็นร้อยละ 61.46 ของพื้นที่[[จังหวัด]] แบ่งเป็นพื้นที่เพื่อการอนุรักษ์ จำนวน 3,525,896 [[ไร่]] พื้นที่มอบ สปก. จำนวน 960,070 [[ไร่]] แยกออกเป็นพื้นที่[[ป่าเศรษฐกิจ]] 513,683 [[ไร่]] ป่าเพื่อการเกษตร 425,832 [[ไร่]] และพื้นที่กันคืนกรมป่าไม้ 20,555 [[ไร่]]
'''ป่าชุมชน''' (Community Forest) ป่าชุมชนเป็นป่าธรรมชาติที่ชาวบ้านได้ช่วยกันป้องกันรักษาเอาไว้สำหรับเป็นแหล่งซับ[[น้ำ]]และใช้สอย ปัจจุบันมีการสร้างป่าชุมชนขึ้นในพื้นที่สาธารณะ เพื่อใช้ประโยชน์ของชุมชน
 
'''เขตห้ามล่าสัตว์ป่า''' มีจำนวน [[1]] แห่ง คือ [[พื้นที่ชุ่มน้ำเขตห้ามล่าสัตว์ป่าหนองบงคาย]] [[อำเภอเชียงแสน]] มีพื้นที่ 2,711 [[ไร่]]
 
====ทรัพยากรธรรมชาติ แหล่งแร่====
* [['''ทังสเตน''']] หรือ โวลฟรัม [[แร่]]ทังสเตนเป็น[[แร่]]ที่พบใน[[เทือกเขา]]ด้านตะวันตกของ[[จังหวัด]] ใน[[เขต]][[อำเภอแม่สรวย]] และ[[อำเภอเวียงป่าเป้า]] ซึ่งอาจเกิดเป็นแหล่ง[[แร่]]อิสระเช่น[[ซีไลท์]]และ[[วุลแฟรม]] หรืออาจเกิดรวมกับ[[แร่]]อื่น ๆ เช่น [[ดีบุก]] และ[[พลวง]]
* [[ดีบุก]]และ[[พลวง]] แร่ทั้งสองประเภทเป็นแร่ในกลุ่ม[[โลหะ]]พื้นฐาน อาจเกิดร่วมกับ[[แร่]][[ทังสเตน]]มีอยู่มากใน[[เทือกเขา]]ด้านตะวันตก เช่นกัน แต่มีปริมาณและการผลิตน้อยกว่า[[ทังสเตน]]
* [[แมงกานีส]] เป็นแหล่งแร่ที่มีขนาดเล็ก เคยมีการผลิตในเขต[[อำเภอเทิง]] ปัจจุบันมีแปลงประทาน
ในเขต[[อำเภอพญาเม็งราย]] แต่ไม่มีการผลิต
บรรทัด 264:
* [[ดินขาว]] และ[[บอลเคลย์]] เป็นแร่ที่พบกระจายใน[[อำเภอเวียงป่าเป้า]] มีผลผลิตจำนวนน้อย ปัจจุบัน
ยังคงมีการผลิตบอลเคลย์จากเหมืองเพียงแห่งเดียว
* [[หินปูน]][[อุตสาหกรรม]] เป็น[[หินปูน]]ที่ใช้ในอุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ ใช้ทำปูนขาวสำหรับ[[อุตสาหกรรม]]ฟอกหนัง และอุตสาหกรรม[[น้ำตาล]] มีการผลิตหินปูนในเขต[[อำเภอเมืองเชียงราย]]และ[[อำเภอเวียงชัย]]
 
====ทรัพยากรน้ำ====
[[ไฟล์:Place GoldenTriangle.jpg|thumb|180px|right|แม่น้ำโขง/สามเหลี่ยมทองคำ]]
* [[แม่น้ำกก]] มีต้นกำเนิดใน[[ประเทศพม่า]] ไหลเข้าสู่[[ประเทศไทย]]ใน[[เขต]][[จังหวัดเชียงใหม่]] ไหลผ่าน[[อำเภอเมืองเชียงราย]] [[อำเภอเวียงชัย]] [[อำเภอแม่จัน]] [[อำเภอดอยหลวง]] [[อำเภอเชียงแสน]] แล้วไหลไปบรรจบ[[แม่น้ำโขง]]ที่หมู่ที่ ๗ บ้านสบกก [[ตำบลบ้านแซว]] [[อำเภอเชียงแสน]] มี[[ความยาว]]ประมาณ ๑๔๕ [[กิโลเมตร]]
* [[แม่น้ำลาว]] ต้นกำเนิดจาก[[ภูเขา]]ใน[[เขต]][[อำเภอเวียงป่าเป้า]] แล้วไหลผ่าน[[อำเภอแม่สรวย]] [[อำเภอพาน]] [[อำเภอเมืองเชียงราย]] [[อำเภอเวียงชัย]] ไปบรรจบกับ [[แม่น้ำกก]]ที่[[อำเภอเวียงชัย]] [[จังหวัดเชียงราย]] มี[[ความยาว]]ประมาณ ๑๓๗ [[กิโลเมตร]]
* [[แม่น้ำอิง]] ต้นน้ำเกิดจากหนองเล็งทรายก่อนเข้า[[กว๊านพะเยา]] ไหลผ่าน[[อำเภอเทิง]] แล้วไหลไปบรรจบ[[แม่น้ำโขง]]ที่[[อำเภอเชียงของ]] ส่วนที่ไหลผ่าน [[จังหวัดเชียงราย]] [[ยาว]] ประมาณ ๑๓๖ [[กิโลเมตร]]
* [[แม่น้ำจัน]] ต้นน้ำเกิดจากภูเขาสามเส้า ทางด้านทิศตะวันตกของ[[อำเภอแม่จัน]]ติดกับ[[รัฐฉาน]] ([[ประเทศพม่า]]) แล้วไหลไปทาง[[ทิศ]]ตะวันออกเฉียงเหนือ ร่วมกับ[[แม่น้ำคำ]]ไหลไปบรรจบ[[แม่น้ำโขง]] มี[[ความยาว]]ประมาณ ๑๐๐ [[กิโลเมตร]]
* [[แม่น้ำโขง]] มีต้นกำเนิดจากภูเขา[[หิมาลัย]] ไหลเข้าสู่[[ประเทศไทย]]ที่หมู่ที่ ๑ บ้านสบรวก [[ตำบลเวียง]] [[อำเภอเชียงแสน]] จังหวัดเชียงราย แล้วไหลผ่าน[[อำเภอเชียงของ]] และ[[อำเภอเวียงแก่น]] รวม[[ความยาว]]ที่ผ่านจังหวัดเชียงราย ประมาณ ๙๔ [[กิโลเมตร]]
* [[ แม่น้ำคำ]] ต้นน้ำเกิดจากภูเขาในเขต[[อำเภอแม่ฟ้าหลวง]] แล้วไหลผ่าน[[อำเภอแม่จัน]] [[อำเภอเชียงแสน]] [[อำเภอแม่สาย]] แล้วไหลไปบรรจบ[[แม่น้ำโขง]]ที่หมู่ที่ ๕ บ้านสบคำ ตำบลเวียง [[อำเภอเชียงแสน]] จังหวัดเชียงราย มี[[ความยาว]]ทั้งสิ้น ประมาณ ๘๕ [[กิโลเมตร]]
* [[แม่น้ำสาย]] ใช้เป็นเส้นแบ่งเขตแดนระหว่าง[[ประเทศไทย]]กับ[[ประเทศพม่า]] ในเขตจังหวัดเชียงราย เป็น[[แม่น้ำ]]สายสั้น ๆ ประมาณ ๓๑ [[กิโลเมตร]] มี[[น้ำ]]ไหลตลอดปี
* [[แม่น้ำรวก]] ต้นน้ำเกิดใน[[ประเทศพม่า]] ไหลเข้าสู่[[ประเทศไทย]]ที่ [[อำเภอแม่สาย]] และ[[อำเภอเชียงแสน]] แล้วไหลไปบรรจบ[[แม่น้ำโขง]]ที่หมู่ที่ ๑ บ้านสบรวก ตำบลเวียง [[อำเภอเชียงแสน]] จังหวัดเชียงราย ใช้เป็นเส้นแบ่งเขตแดน ระหว่าง[[ประเทศไทย]] และ[[ประเทศพม่า]]
 
==ประชากร==
บรรทัด 283:
====คนไทยพื้นราบ====
ประกอบด้วยคนเมือง คนไทย ไทลื้อ ไทเขิน ไทใหญ่ ดังนี้
* [[คนเมือง]] เป็น[[ประชากร]]กลุ่มใหญ่ที่สุดในอดีตเรียกว่า [[ไทยยวน]] หรือ[[ลาวพุงดำ]] ผู้ชายจะมีรูปร่างโปร่งบางกว่า[[คนไทย]][[ภาคกลาง]]เล็กน้อย ผู้หญิงมีรูปร่างผิวพรรณและหน้าตางดงาม มีภาษาพูดแตกต่างไปจากไทยภาคกลางเล็กน้อย มีตัวหนังสือเฉพาะของตนเอง การแต่งกายพื้นเมือง ผู้หญิงนุ่งผ้าซิ่นยาวเกือบถึงตาตุ่ม ใส่เสื้อแขนกระบอก ห่มสไบ เกล้าผมทัดดอกไม้ ชายนิยมนุ่งกางเกงขายาว ใส่เสื้อคอกลมแขนสั้นสีครามเข้ม มีผ้าขาวม้าคาดเอว บ้านเรือนยกใต้ถุนสูง หน้าจั่วหลังคามีไม้ไขว้กันประดับด้วยลวดลาย เรียกว่า[[กาแล]] เครื่องดนตรีที่สำคัญได้แก่ เปี๊ยะ สะล้อ ซึง ปี่ แน กลอง นาฏศิลป์พื้นบ้านมีการฟ้อนเมือง [[ฟ้อน]]ม่าน [[ฟ้อนเงี้ยว]] ประเพณีที่สำคัญคล้ายไทยภาคกลาง มีบางส่วนที่แตกต่างกันออกไปเช่น[[ปอยหลวง]] [[เรียกขวัญ]] [[สืบชะตา]] เป็นต้น
* [[ไทลื้อ]],[[ไทเขิน]],[[ไทใหญ่]] เป็นกลุ่มชนที่มีถิ่นฐานเดิมอยู่ในที่ราบลุ่มแม่น้ำโขง และทางตอนใต้ของจีน
** [[ไทลื้อ]]เป็นชนกลุ่มหนึ่งที่อาศัยอยู่ตอนกลางและตอนบนตั้งแต่แขวงไชยบุรี ประเทศลาวขึ้นไป
** [[ไทยเขิน]] มีถิ่นฐานเดิมอยู่บริเวณลุ่มแม่น้ำขิ่นในรัฐฉาน จึงได้ชื่อว่าไทขีน ได้เข้ามาอยู่ในจังหวัดเชียงราย ในเขตอำเภอเมือง ฯ อำเภอแม่สาย และอำเภอเชียงแสน
** [[ไทใหญ่]] เรียกตนเองว่าไต ถูกคนเมืองเรียกว่า เงี้ยว และพม่าเรียกว่าฉาน ซึ่งแปลว่าคนภูเขา ผู้ชายรูปร่างสูงใหญ่กว่าคนไทยทั่วไป รูปร่างสูงโปร่งแข็งแรง มือเท้าเล็ก ผู้หญิงมีรูปร่างหน้าตาสวยงาม ผิวเนียนกว่าผู้หญิงพม่าเล็กน้อย หน้าตาเฉลียวฉลาด มีภาษาพูดแตกต่างไปจากคนเมือง และคนไทยภาคกลางเล็กน้อย มีตัวหนังสือของตนเอง การแต่งกายพื้นบ้าน ผู้หญิงนุ่งผ้าซิ่นยาวเกือบถึงตาตุ่ม ใส่เสื้อแขนกระบอกเข้ารูป เกล้าผมมวยโพกศีรษะด้วยผ้า เจาะหูใส่ตุ้มหู ผู้ชายใส่เสื้อแบบจีน นุ่งกางเกงขายาว และเกล้าผมมวย สวมหมวกปีกกว้าง เจาะหูใส่ตุ้ม บ้านเรือนยกใต้ถุนสูง มีไม้แกะสลักประดับ เครื่องดนตรีสำคัญได้แก่ ฆ้อง กลอง ฉาบ [[นาฏศิลป์พื้นบ้าน]]มีเต้นโต ฟ้อนนก ประเพณีสำคัญคล้ายคนไทยทั่วไป
 
====ชาวไทยภูเขา====